Page 33 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 33

๒๗

                      กำรแต่งกำย: ผู้สร้างสรรค์รูปแบบการแต่งกายจากรูปประติมากรรมโลหะ ภาพจิตรกรรมล้านนา ตลอดจน

              สัญลักษณ์ของการใช้สีของช่อตุงที่ใช้ประดับบนสะตวงเครื่องบูชาท้าวทั้งสี่ โดยเครื่องแต่งกายสีเขียวแทน

              พระอนทร์ สีขาวแทนท้าวธตรฐ สีแดงแทนท้าววิรุฬหก สีเหลืองแทนท้าววิรูปักษ์ สีด าแทนท้าวกุเวร สีขาวแทน
                   ิ
              พระแม่ธรณี และนางช่างฟ้อน ซึ่งมีลักษณะการแต่งกายแบบล้านนา

                      วิธีกำรผลิตงำน: ชุดการฟ้อน “เทวาอารักษ์ขาเท้าทั้ง ๔” มีกระบวนการสร้างสรรค์ ดังต่อไปนี้

                                 ๑. การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสาร ต ารา และงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง การแสดง

                                                                                             ้
              นาฏศิลป์ล้านนาที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องพิธีกรรม แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพิธีการขึ้นทาวทั้งสี่
                                 ๒. ศึกษาข้อมูลจากศึกษาภาคสนาม: การสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้าน เพชรราชภัฏ –

              เพชรล้านนา พ่อครู – แม่ครูภูมิปัญญา ด้านพิธีกรรมขึ้นท้าวทั้งสี่

                                 ๓. น าข้อมูลจากการศึกษามาประดิษฐ์การแสดง ดังนี้

                                     ๓.๑ ศึกษาขั้นตอนพิธีกรรมการขึ้นท้าวทั้งสี่โดยละเอียด ทั้งบทสวด ขั้นตอน องค์ประกอบ

              เครื่องพลีกรรม เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท  ้

                                     ๓.๒ น าบทร้องออกะโลงหรือกลอนสี่สุภาพ ปรึกษานายพษณุการณ์ ทรายแก้ว
                                                     ื่
                                                                                           ิ
              เพื่อประพันธ์ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ตลอดจนบทสวดอัญเชิญทั้งสี่มาเป็นส่วนหนึ่งของเพลง

                                     ๓.๓ ออกแบบเครื่องแต่งกายของนักแสดง เป็นผลจากการศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนัง

              งานประติมากรรมล้านนา การแต่งกายล้านนา


                                     ๓.๔ ศึกษากระบวนท่านาฏศิลป์ไทยและนาฏศิลป์ล้านนา วิเคราะห์คุณลักษณะของเทพ
              ทั้ง ๖ องค์ ผ่านกระบวนการคิดประดิษฐ์ท่าเฉพาะของเทพทั้ง ๖ องค์ ตลอดจนกระบวนท่าของผู้แสดงนางช่างฟอน
                                                                                                           ้

              ทั้ง ๘ คน
                                     ๓.๕ น าเสนอการแสดงให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาชี้แนะและแก้ไข เพื่อด าเนินการต่อไป


                                     ๓.๖ ปรับปรุงการแสดงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
                                     ๓.๗ บันทึกท่าฟ้อนการแสดงชุด “ฟ้อนเทวาอารักษ์ขาท้าวทั้งสี่” ในรูปแบบวีดีทัศน์


                                     ๓.๘ เผยแพร่การแสดงชุด “ฟ้อนเทวาอารักษ์ขาท้าวทั้งสี่”
                      คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญ: การฟอนเทวาอารักษ์ขาท้าวทั้งสี่ เป็นการแสดงที่สร้างสรรค์ โดยมี
                                                          ้

              จุดมุ่งหมายที่อยากจะให้ผู้รับชมได้รับรู้และเข้าใจถึงความส าคัญของการตั้งพธีขึ้นเท้าทั้งสี่ ตลอดจนทราบถึง
                                                                                  ิ
                                   ิ
              องค์ประกอบต่าง ๆ ในพธีขึ้นเท้าทั้งสี่ตามความเชื่อของคนล้านนา เมื่อเกิดความรู้ความเข้าใจก็จะสามารถเห็นคุณค่า
              และให้ความส าคัญกับพิธีขึ้นเท้าทั้งสี่ต่อไป
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38