Page 37 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 37
๓๑
ช่วงที่ ๓ ขบวนอญเชิญผ้าซิ่นที่ผ่านกระบวนการทอจนเป็นผืนผ้า จัดเตรียมและตกแต่ง
ั
้
ขบวนแห่เพอน าผ้าซิ่นไปรอรับเสด็จถวายพระองค์ท่าน และยังมีการตีกลองสะบัดชัย ฟอนดาบ ฟอนเจิง ขอพรให้
ื่
้
ปกปักรักษาคุ้มครองเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตลอดจนการแสดงถวาย
และเพื่อเฉลิมฉลอง
แนวคิดกำรแสดง: เป็นการสร้างสรรค์การแสดงเชิงอนุรักษ์ ของคณะช้างเผือกสามัคคี น าเอาวิถีชีวิต
ขนบธรรมเนียม และประเพณีแห่ช้างบวชนาค ไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว ของต าบลหาดเสี้ยว อ าเภอศรีสัชนาลัย จังหวัด
สุโขทัย
ประเพณีแห่ช้างบวชนาค เป็นประเพณีส าคัญที่ชาวไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว ยึดถือปฏิบัติสืบทอดกัน
ั
มาอย่างยาวนาน สะท้อนให้เห็นสายสัมพนธ์แนบแน่นระหว่างพระพทธศาสนา วิถีชีวิต และธรรมชาติ โดยจะใช้ช้าง
ุ
เป็นพาหนะส าคัญในการน ากุลบุตรผู้ประสงค์จะบวชในพระพทธศาสนาแห่แหนเป็นขบวนไปยังวัด โดยมีต้นเค้า
ุ
มาจากวรรณกรรมส าคัญในพระพทธศาสนา คือ "มหาเวสสันดรชาดก" ชาวไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว ที่ยังคงอนุรักษ์
ุ
การแห่ช้างบวชนาคไว้ได้อย่างเหนียวแน่น นับเป็นอกหนึ่งกิจกรรมส าคัญที่น่าสนใจ โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศ
ี
ไทยได้บรรจุไว้ในปฏิทินท่องเที่ยวประจ าปี กลายเป็นประเพณีที่รู้จักอย่างแพร่หลายทั่วโลก เป็นการจ าลองวิถีชีวิต
ของชาวบ้านในการประกอบบุญในประเพณีแห่ช้างบวชนาค เป็นประเพณีส าคัญที่ชาวไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว
ื่
เพอน้อมถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราช เจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้น าเอา
การแต่งกายที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นมาแสดงให้เห็น คือ การใส่ผ้าซิ่นตีนจกลวดลายศรีสัชนาลัย น าเสนอผ่านการแสดง
ดนตรี - นาฏศิลป์ล้านนา ที่มีความงดงาม
รูปแบบกำรแสดง:
ช่วงที่ ๑ การแสดงชุด ฉุยฉายเข้าวัด ซึ่งเป็นเพลงพนบ้านของชาวจังหวัดสุโขทัย โดยมี
ื้
เนื้อหาของการเชิญชวนมาร่วมท าบุญและบวชถวายพระราชกุศล
ช่วงที่ ๒ การละเล่นวงมังคละ หรือ ปี่กลอง ปี่กลองมังคละ เป็นดนตรีชั้นสูง ส าหรับ
ุ
พระพทธศาสนาของอาณาจักรสุโขทัยโบราณ โดยปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ ๑ และศิลาจารึกวัดช้างล้อม
สันนิษฐานว่า ดนตรีมังคละนั้นรับธรรมเนียม "มงคลเภรี" มาจากศรีลังกา ก่อนที่จะกลายมาเป็นดนตรีพื้นบ้าน ในชุมชน
กลุ่มคนที่ใช้ส าเนียงอาณาจักรสุโขทัยโบราณ ปัจจุบันพบการละเล่นอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จังหวัดสุโขทัย
พษณุโลก และอตรดิตถ์ รวมทั้งการพบร่องรอยการละเล่นมังคละในจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดเพชรบูรณ์
ิ
ุ
ที่ถือได้ว่าเป็นภาพที่คุ้นตาของคนสุโขทัย