Page 52 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 52

๔๖                                                                                                   45
         45


               บทน า

                        สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นสถานกาณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และรุนแรง

               จนแพร่กระจายไปในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีผู้คนเจ็บป่วยและล้มตายจ านวนมากเกิดเป็นความสูญเสีย

                                ี
               อย่างใหญ่หลวงอกครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ มนุษย์จึงจ าเป็นต้องป้องกันตนเองเพอให้มีชีวิตรอด
                                                                                            ื่
               ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด ารงชีวิตที่ผิดไปจากวิถีเดิม ๆ โดยมีการปรับหาวิถีการด ารงชีวิตแบบใหม่

                                                                            ู
                                                                         ื้
               เพอให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อควบคู่ไปกับความพยายามรักษาฟนฟศักยภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
                  ื่
               น าไปสู่การสรรค์สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ เทคโนโลยีใหม่ มีการปรับแนวคิด วิสัยทัศน์ วิธีการจัดการ ตลอดจน
               พฤติกรรมที่เคยท ามาเป็นกิจวัตร ท าให้เกิดการปรับเปลี่ยนจากความคุ้นเคยอนเป็นปกติมาแต่เดิม
                                                                                       ั
               ในหลายมิติ อาทิ ด้านอาหาร การแต่งกาย การรักษาสุขอนามัย การศึกษาเล่าเรียน การสื่อสาร การท าธุรกิจ

               เป็นต้น ซึ่งสิ่งใหม่เหล่านี้ได้กลายเป็นความปกติใหม่ จนในที่สุดเมื่อเวลาผ่านไปจะท าให้เกิดความคุ้นชิน

               และจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตปกติของผู้คนในสังคม (กรุงเทพธุรกิจ, 2563)

                        จากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่เกิดขึ้นท าให้สภาพเศรษฐกิจในประเทศไทย

               เกิดการชะลอตัวส่งผลกระทบต่อระบบสังคมระบบเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ รายย่อย

               ลูกจ้างทั่วไป พอค้า แม่ค้า เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา นักเรียนนักศึกษาหรือแม้แต่พนักงานประจ า ล้วนได้รับ
                            ่
               ผลกระทบด้วยกันทั้งสิ้น แต่หากมองให้ลึกจะเห็นได้ว่าสถานการณ์ในครั้งนี้ได้มอบบทเรียนส าคัญ ท าให้ทุกคน

               มีสติไม่ประมาท เริ่มต้นการวางแผนชีวิตส าหรับเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินอกครั้ง (กองทุน
                                                                                             ี
               การออมแห่งชาติ, 2563)

                        หลังสถานการณ์การการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นักท่องเที่ยวชาวไทย

               ร้อยละ 71 มีความต้องการเดินทางท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวในประเทศร้อยละ 84 แน่นอนว่า

               สิ่งที่สามารถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวต้องการท่องเที่ยวได้ คือ รูปแบบการท่องเที่ยว โดยรูปแบบการท่องเที่ยว

                                               ั
               ที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด 10 อนดับก่อนสถานการณ์การการแพร่ระบาด ประกอบด้วยการท่องเที่ยว
               เชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล การท่องเที่ยวงานชมวัฒนธรรม ประเพณี

               การท่องเที่ยวชมวิถีชีวิตในชนบท การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวแบบผจญภัย การท่องเที่ยวเชิงกีฬา

               และการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ และฟาร์ม สเตย์ตามล าดับ (ณิชา พิชัยวรุตมะ และคณะ, 2565)

                        ส าหรับการส่งออกบริการโดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว แม้ว่าจะมีขนาดเล็กในระบบเศรษฐกิจ

               เมื่อเทียบกับภาคการส่งออกสินค้า แต่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาภาคการท่องเที่ยวมีส่วนส าคัญในการ

               ประคับประคองเศรษฐกิจไทยไว้ได้ในยามที่เครื่องยนต์หลักของประเทศขัดข้อง แม้ว่าภาคการท่องเที่ยว

                                     ุ
               จะเผชิญกับปัญหาและอปสรรคมาอย่างต่อเนื่อง แต่ครั้งนี้ภาคการท่องเที่ยวกลับต้องเผชิญกับปัญหา
               ที่หนักหน่วงกว่าทุกครั้ง จากการระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่เหนือความคาดหมาย ท าให้จ านวนนักท่องเที่ยว
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57