Page 56 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 56
๕๐ 49
49
ของโควิด-19 ส่งผลให้นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนน้อยลง การท่องเที่ยวในชุมชนแทบจะหยุดชะงัก
ในทุกกิจกรรม ท าให้ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบค่อนข้างรุนแรง ผู้ประกอบการโฮมสเตย์ได้มีการปิดรับ
นักท่องเที่ยว ท าให้คนในชุมชนมีรายได้น้อยลงและขาดรายได้จากการท่องเที่ยวที่เป็นรายได้หลัก
รูปแบบการท่องเที่ยวชุมชนวิถีใหม่หลังสถานการณ์โควิด-19 พบว่า ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19
นักท่องเที่ยวมักจะมาขี่ช้าง อาบน้ าช้าง ป้อนอาหารช้าง ล่องแพ ในช่วงหลังโควิดจ านวนนักท่องเที่ยว
จะน้อยกว่าช่วงก่อนโควิด ทั้งนี้นักท่องเที่ยวที่มาต้องปฏิบัติตัวตามมาตรการป้องการโรคที่ก าหนด
ื่
ทั้งนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยวจะนิยมมาล่องแพ และเที่ยวปางช้าง เพอมาท ากิจกรรมขี่ช้าง
ป้อนอาหารช้าง อาบน้ าให้ช้าง แต่จะมาแบบไปกลับจะมากันเป็นกลุ่มคณะ กลุ่มเพอน และมากัน
ื่
เป็นครอบครัว นักท่องเที่ยวที่มาจะจัดกิจกรรมกันมาเองว่าต้องการท ากิจกรรมอะไร ในชุมชนจะมีการสร้างกฎ
และกติกาโดยห้ามเศษทิ้งขยะอาหารลงแม่น้ า คนที่จะประกอบธุรกิจท่องเที่ยวได้นั้นต้องเป็นคนในชุมชน
เท่านั้น อกทั้งชุมชนมีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากชุมชนติดป่าจ าเป็นต้องมีการอนุรักษ์รักษาป่า
ี
ในช่วงวันส าคัญทางศาสนาชุมชน จะเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้ร่วมกิจกรรมท าบุญกับชาวบ้านในชุมชน
ื่
เพออนุรักษ์วัฒนธรรมและสืบสอดประเพณีให้คงอยู่ในชุมชน ช่วงหลังโควิดชุมชนมีมาตรการการป้องกัน
ั
การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 โดยการจ ากัดจ านวนผู้เข้าพกน้อยลงกว่าก่อน โควิดและนักท่องเที่ยวที่เข้ามา
ต้องมีการตรวจ ATK รวมทั้งต้องได้รับการฉีดวัคซีนแล้ว นอกจากนี้ทางชุมชนมีการจัดการจัดคนที่เข้ามา
ท่องเที่ยวในแต่ละวัน มีการท าสัญลักษณ์เว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะ และร้านอาหารต่าง ๆ ในทุกสถานที่
ท่องเที่ยว ร้านค้ามีเจลแอลกอฮอล์ สบู่ไว้ส าหรับบริการนักท่องเที่ยว ที่พกโฮมสเตย์จะมีการท าความสะอาด
ั
เป็นประจ าหลังจากมีคนเข้าพัก รวมถึงอุปกรณ์ที่มีการสัมผัสร่วมกันเพื่อฆ่าเชื้อโรค
ภาพที่ 1 แสดงกิจกรรมการล่องแพ ภาพที่ 2 นักท่องเที่ยวก าลังอาบน้ าช้าง