Page 57 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 57
50
๕๑
การอภิปรายผล
ภายหลังจากสถานการณ์โควิด-19 ชุมชนได้มีการจัดการท่องเที่ยวชุมชนบ้านสบวิน บนพนฐานของ
ื้
ศักยภาพชุมชนที่มีต่อการจัดการท่องเที่ยวชุมชนวิถีใหม่ ชุมชนได้มีการก าหนดแผนงาน เพอพฒนา
ั
ื่
การท่องเที่ยวในชุมชนร่วมกับหน่วยงานของ อบต.แม่วิน โดยทางชุมชนได้มีการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เปิด
โอกาสให้นักท่องเที่ยวได้ใช้วิถีชีวิตเหมือนคนในชุมชนเพอเป็นการอนุรักษ์ และถ่ายทอดให้นักท่องเที่ยวได้เห็น
ื่
ถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของชุมชน มีการจัดกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้อาบน้ าให้ช้าง ล่องแพ และ
ทดลองถ่อแพเอง โดยกิจกรรมที่จัดขึ้นได้มีการค านึงถึงสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับแนวคิดการท่องเที่ยว
โดยชุมชนวิถีใหม่ของ พจนา สวนศรี และ สมภพ ยี่จอหอ (2556) ได้กล่าวว่า การท่องเที่ยวชุมชนวิถีใหม่
หมายถึง การท่องเที่ยวที่ค านึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ก าหนดทิศทาง
การท่องเที่ยวโดยสมาชิกในชุมชน จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพอชุมชน และชุมชนเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว
ื่
มีบทบาทเป็นเจ้าของมีสิทธิ์ในการจัดการดูแลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน สอดคล้องกับผลการศึกษาของ
กชธมน วงศ์ค า และ เวธกา มณีเนตร (2563) เรื่อง การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านหัวขัว ต าบลแกด า
อาเภอแกด า จังหวัดมหาสารคาม ชุมชนมีความพร้อมความต้องการ และมีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยว
ื่
การก าหนดกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของจัดการดูแลเพอให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน
โดยค านึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม และผลจากการสอบถามความคิดเห็นของ
นักท่องเที่ยวต่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านหัวขัว อยู่ในระดับมากเรียงล าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหา
น้อย คือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรม รองลงมาได้แก่ด้านองค์กรชุมชนด้านการจัดการ
และด้านการเรียนรู้ ตามล าดับ อีกทั้งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ อิทธิพล โกมิล (2553) จากการศึกษาเรื่อง
รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณีศึกษา บ้านวังน้ ามอก จังหวัดหนองคาย พบว่า เกิดการรวมกลุ่ม
ั
โฮมสเตย์ โดยอาศัยทุนทางสังคมที่เป็นจุดขาย อนได้แก่ ทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน
ั
ั
ื่
โดยให้นักท่องเที่ยวได้เข้าพกอาศัยและเก็บค่าที่พกและค่าตอบแทนตามความเหมาะสม เพอให้กลุ่มต้องอยู่ได้
อย่างยั่งยืน และตระหนักเห็นความส าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เกิดความรู้สึกหวงแหนและต้องการอนุรักษ ์
ไว้ รูปแบบการท่องเที่ยวชุมชนวิถีใหม่หลังสถานการณ์โควิด-19 ผู้ประกอบการโฮมสเตย์ได้มีมาตรการจ ากัด
จ านวนผู้เข้าพกน้อยลงกว่าก่อนโควิดเพอลดความเสี่ยงที่จะติดโรค และในช่วงที่ยังไม่มีการผ่อนปรนมาตรการ
ั
ื่
โควิด-19 นักท่องเที่ยวต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา คนที่เข้ามาต้องมีการตรวจ ATK และต้องได้รับ
การฉีดวัคซีนแล้ว ทั้งนี้ในร้านอาหารมีการท าสัญลักษณ์เว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะ มีเจลแอลกอฮอล์ และสบู่
ส าหรับให้บริการนักท่องเที่ยว ที่พกโฮมสเตย์มีการท าความสะอาดห้องพกและอปกรณ์ที่มีการสัมผัสร่วมกัน
ุ
ั
ั
ื่
เพอฆ่าเชื้อโรค ตั้งแต่มีการประกาศให้เป็นโรคประจ าท้องถิ่นนักท่องเที่ยวที่เข้ามาไม่ต้องตรวจ ATK
แต่ทางชุมชนจะมีมาตรการให้นักท่องเที่ยวสวมหน้ากากอนามัย สอดคล้องกับแนวคิดสถานการณ์หลัง