Page 58 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 58

๕๒                                                                                                   51
         51


                                                         ื่
               ยุคโควิด-19 ของ ทะนงศักดิ์ แสงสว่าง และคนอน ๆ (2563) แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นสถานที่ทางธรรมชาติ
               อาจท าให้มีการรวมตัวของกลุ่มคนจ านวนมาก มีการใช้พนที่หรือสัมผัสสิ่งของร่วมกัน และมีความเสี่ยงต่อ
                                                                ื้
               การแพร่ระบาดของโรค จึงมีแนวทางปฏิบัติส าหรับเจ้าของสถานที่ให้บริการ ผู้ควบคุมก ากับดูแล พนักงาน

               ผู้ให้บริการ นักท่องเที่ยว มีการคัดกรองพนักงาน เจ้าหน้าที่ นักท่องเที่ยว มีมาตรการให้พนักงานนักท่องเที่ยว

               ทุกคน ต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่เข้าใช้บริการในแหล่งท่องเที่ยว จัดให้มีสัญลักษณ์เว้นระยะห่าง

                                                                                                    ี
               มีที่ล้างมือพร้อมสบู่ และเจลแอลกอฮอล์ส าหรับท าความสะอาดมือไว้บริการบริเวณต่าง ๆ อย่างเพยงพอ
               ดูแลให้มีจ านวนนักท่องเที่ยวที่เข้าใช้บริการในแต่ละพนที่อย่างเหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ
                                                             ื้
               ธนพล คล่องสมุทร และคณะ (2564) จากการศึกษาเรื่อง ผลกระทบของไวรัสโควิด-19 (COVID-19)


               ต่อผู้ประกอบการธุรกิจน าเที่ยวในพนที่ต าบลอาวนาง อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ก าหนดชีวิตรูปแบบใหม่
                                              ื้
                                                       ่
               (New Normal) ทั้งด้านการป้องกันตนเอง ด้วยวิธีการสวมหน้ากากอนามัย การพกเจลแอลกอฮอล์
               การเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร และรูปแบบการด าเนินธุรกิจหลังจากเกิดการระบาดของไวรัสโคโรนา

               (COVID-19) ทั้งการปรับเปลี่ยนการให้บริการ ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการถือเป็นหัวใจส าคัญต่อ

               ความอยู่รอดของธุรกิจ เช่นเดียวกับผลการศึกษาของ ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน และคณะ (2564) จากการศึกษา

               เรื่อง การท่องเที่ยวทางทะเล และชายฝั่งวิถีใหม่ ภายหลังการระบาดของโรคโควิด-19 มาตรการ

               ด้านสาธารณสุขที่ส าคัญได้ถูกน ามาใช้เป็นจุดขายในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็น

               มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยและมาตรฐานการให้บริการที่มีคุณภาพของสถานประกอบการ SHA

                                                                                            ื้
                                                                     ื้
               และ SHA+ มาตรการภาครัฐที่จะช่วยในการควบคุมก ากับดูแลพนที่ให้บริการไม่ว่าจะเป็นพนที่ชายหาดหรือ
               พื้นที่อื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การจัดโซนพื้นที่ในการให้บริการ

               การควบคุมในเรื่องความหนาแน่นของนักท่องเที่ยว ในขณะที่นักท่องเที่ยวเองก็ควรให้ความร่วมมือในการดูแล

               ปกป้องตนเองไม่ว่าจะเป็นการสวมใส่หน้ากากอนามัย การหมั่นฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์ เป็นต้น อกทั้ง
                                                                                                      ี
               ยังสอดคล้องกับผลการศึกษาของ จิตกร วิจารณรงค์ (2564) จากการศึกษาเรื่อง การจัดการท่องเที่ยวไทย

               ในยุค New Normal การจัดการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยภายหลังสถานการณ์โควิด-19 ต้องมี

               การเตรียมการวางแผนเตรียมความพร้อมเพอรองรับการปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตใหม่การปรับตัวทางเศรษฐกิจ
                                                     ื่
               ด้านการท่องเที่ยวทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และนักท่องเที่ยว

               ต้องใช้การมีส่วนร่วม และความร่วมมือร่วมใจกันด าเนินการท่องเที่ยวตามมาตรการการท่องเที่ยวยุค

               New Normal ที่ได้ก าหนดไว้จะได้ท่องเที่ยวกันอย่างมีความสุข ปลอดโรค ปลอดภัย เสริมสร้างเศรษฐกิจ

               ให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63