Page 153 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 153

๑๔๗



               รำงวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ

                       พ.ศ. ๒๕๕๒     หนังสือรับรองการเป็น “ประธานกิตติมศักดิ์” สมาคมฟ้อนเจิงแห่งประเทศญี่ปุ่น

                                     สมาคมฟ้อนเจิงแห่งประเทศญี่ปุ่น

                       พ.ศ. ๒๕๕๓     ประกาศเกียรติคุณ “คุรุผู้ฮ่ายผญาปัญญาล้านนา (ครูภูมิปัญญาล้านนา”

                                     โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา

                                                                               ิ
                       พ.ศ. ๒๕๖๓     “The Future List 2020” ๑ ใน ๑๐๐ บุคคลที่มีอทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรม
                                     ผู้สร้างหมุดหมายส าคัญในสาขาวิชาชีพของคน

                                     Tatler Thailand



               วิธีกำรเรียนรู้หรือทักษะและเทคนิคในกำรสร้ำงผลงำน ควำมมุ่งหวัง และสิ่งที่จะฝำกถึงอนุชนรุ่นต่อไป

                       “เจิง” คือ ชั้นเชิงการวาดลวดลายฟ้อนร าท่าทางในการต่อสู้ รวมไปถึงชั้นเชิงในการด ารงชีวิตให้มีความสุข

                                                                         ้
               เจิงเป็นเรื่องของการต่อสู้ล้วน ๆ พอเพมค าว่า 'ฟอน' ไปด้วยเป็น 'ฟอนเจิง' มันก็เป็นการแสดงท่าทางการต่อสู้
                                                ิ่
                                                         ้
                             ้
               อวดกัน น ามาฟอนให้เกิดความสวยงาม การเรียนรู้เรื่องเจิงจะต้องอาศัยทักษะสองประการคือ การน าไปใช้งาน
                                                                               ้
               ในเรื่องของการต่อสู้ การป้องกันตัว หรือเอาตัวรอด และสอง ต้องเรียนการฟอนควบคู่กันไปด้วย จะเรียนอย่างใด
                                                          ้
               อย่างหนึ่งไม่ได้ เพราะว่าเจิงที่น ามาใช้กับเจิงที่ใช้ฟอนจะเหมือนกับความแข็งและความออนที่ประสานลงตัวกัน
                                                                                          ่
               อาจดูเหมือนว่า การฟอนเจิงจะมีอยู่และเป็นไปเพอเป็นการแสดง ทว่า ภายใต้ท่าทางอันอ่อนช้อย กลับมีสิ่งอันเป็น
                                                        ื่
                                 ้
                                              ้
               ประโยชน์ต่อตัวผู้ฝึกอย่างมาก การฟอนเจิงใช้การเคลื่อนไหวทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการเอยว การหมุน การกระโดด
                                                                                        ี้
                                                                         ้
               โลดเต้น การย่อการยืด มีการเดินบิดตัวไปมา เพราะฉะนั้นเวลาเราฟอน ก็เหมือนกับการออกก าลังกายไปในตัว
               การฟอนเจิงจะมีเรื่องของการยืดกล้ามเนื้อและการออกก าลัง ซึ่งจะเป็นคนละส่วนกัน การยืดกล้ามเนื้อนั้นไม้ได้
                    ้
               เป็นการออกก าลัง แต่เป็นการท าให้ร่างกายเราได้ผ่อนคลายและมีการบ าบัดกล้ามเนื้อต่างๆ ส่วนการออกก าลัง

                                                                           ื่
               เน้นให้หัวใจและกล้ามเนื้อท างาน ให้สรีระร่างกายได้ท างานหมุนเวียนเพอปรับสมดุลร่างกาย ในการฟ้อนเจิงก็ต้อง
               ท าทั้งสองอย่างนี่ ดังนั้น จะเห็นว่า ถึงจะมองดูว่าการฟ้อนเจิงนั้นอ่อนช้อย แต่ในความอ่อนช้อยก็มีประโยชน์ใช้สอย

               อยู่ด้วย นอกจากเป็นการออกก าลังกายแล้ว การฟอนเจิงยังช่วยฝึกทักษะความคิดของผู้ฝึกอกด้วย และ
                                                                                                   ี
                                                             ้
               ต้องใช้ไหวพริบปฏิภาณ ฝึกสติให้อยู่กับตัว ไม่ใช่ฝึกไปเลื่อนลอย แต่ฝึกให้ก าหนดจุดที่จะต้องเคลื่อนไหว ซึ่งตรงนี้

                                   ุ้
                                                                                                        ุ้
               จะท าให้จิตนิ่งขึ้น ไม่ฟงซ่าน เพราะจิตไปจดจ่อกับสิ่งที่ท าอยู่โดยมากแล้ว หากผมเกิดความเครียด จิตฟงซ่าน
                             ้
               จิตตก แล้วมาฟอนเจิง ก็กลับกลายเป็นการบ าบัดอย่างหนึ่ง เพราะว่าจิตเรานิ่งขึ้น มีสมาธิ การที่ร่างกาย
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158