Page 154 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 154

๑๔๘



                                                                                              ้
                                                                                        ี
               ได้เคลื่อนไหว จะมีพลังงานแผ่ซ่านไปทั่ว ท าให้ผ่อนคลาย สมองก็ปลอดโปร่ง เพยงแค่ฟอนเจิงประมาณ
               ๕-๑๐ นาที จะรู้สึกดีขึ้นมาก

                       การฝึกเจิงแต่ไหนแต่ไรไม่มีการบัญญัติแนวคิดวิธีการฝึกไว้ชัดเจนเพราะตามจารีตจะสอนด้วยวาจาและ

               การท าให้เห็นประจักษ์ การจดบันทึกมีน้อยโดยเฉพาะการวิเคราะห์ความรู้นั้นยังไม่พบเห็น แต่อย่างไรก็ตาม

               การสอนเชิงวิเคราะห์สังเคราะห์ความรู้เป็นภูมิปัญญานั้นมีอยู่ในค าสอนและวิถีชีวิตซึ่งผู้เรียนจะสัมผัสเรียนรู้ผ่าน

               การถามตอบจากปากครูและลงมือปฏิบัติเท่านั้น การฝึก "เจิงในหลักวงแหวนสองวง" เป็นค าที่นายศรัณ

                                                    ี่
               สุวรรณโชติ บัญญัติใหม่ตามหลักการเก่าแก่ทได้รับถ่ายทอดมาเพอจัดหมวดหมู่แนวความคิดต่างๆ ในวิถีการฝึกเจิง
                                                                    ื่
               ที่ได้ประสบพบเจอ และได้ใช้เป็นหลักการฝึกฝนอบรมตนเสมอ

                       วงแหวนที่หนึ่งคือ "การฝึกศิลปะการฟ้อนเจิง"

                       วงแหวนที่สองคอ "การฝึกศาสตร์การต่อสู้"
                                    ื
                       วงแหวนสองวงคล้องเกี่ยวกันไว้แม้เป็นคนละวงแต่ไม่หลุดออกจากกัน ต้องเข้าใจทั้งสองวงจรจึงจะเข้าใจ

               เจิงและสามารถใช้แต่ละด้านอย่างมีประสิทธิภาพ หากฝึกด้านเดียวหรือวงเดียวก็ย่อมท าได้แต่จะขาดความสมบูรณ์

               เรื่องนี้ผู้ฝึกจะรู้ดี อย่างน้อยหากนิยมการฟอนก็ต้องรู้หลักการต่อสู้ไว้บ้างหรือหากนิยมการต่อสู้ก็ต้องฝึกแม่ท่าฟอน
                                                                                                          ้
                                                  ้
               ก่อนอยู่ดี มันจึงมีในกันและกัน จากค าบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่หลายท่านยืนยันว่าเมื่อฝึกเจิงจะแบ่งเป็นสองชุม คือ

                      ้
                                                        ้
               หมู่หูมฟอน และ หมู่หูมลายป๊อด คือ คนรักการฟอนกับคนรักการสู้นั่นเอง แต่ในบรรดาทั้งหมดผู้ที่ฝึกทั้งสองด้าน
               จนช านาญย่อมถือว่าควบคุมสิ่งที่บรรลุได้ยากสองอย่าง และเมื่อสองวงแหวนผสานกันอย่างดีจะส่งผลให้เกิด

               วงที่สาม

                       จากวงแหวนที่หนึ่ง "การฝึกศิลปะการฟอนเจิง" กลายเป็น “วงแหวนแห่งใจ” (ขยายจากการฟอน) และ
                                                                                                     ้
                                                        ้
               วงแหวนที่สอง "การฝึกศาสตร์การต่อสู้" กลายเป็น “วงแหวนแห่งกาย” (ขยายจากการต่อสู้) เพราะว่าไม่ใช่

                  ี
               เพยงการฟอนหรือการต่อสู้เท่านั้นที่จะท าให้เข้าถึงเจิงในระดับสูง แต่ใจและกาย คือ ต้นก าเนิดทั้งมวลของเจิง
                         ้
                              ี
               เจิงจะสมบูรณ์เพยงใดขึ้นอยู่กับกระบวนการฝึกฝนทั้งสองนัยยะ คือ นัยยะของร่างกาย และนัยยะของจิตใจ
               จึงจะสามารถจ าแนกหลักการฝึกที่ละเอยดขึ้น เกิดการตีความว่าสิ่งไหนคือกาย สิ่งไหนคือใจ ท าให้ร่างกาย
                                                  ี
               และจิตใจเกิดการกล่อมเกลาทักษะการเรียนรู้เข้าไว้ในอณูของตัวเรา ครั้นต่อมา เมื่อครูนิกฝึกกายและใจ

               ให้เข้าถึงเจิง กลับพบว่ามีอกหนึ่งวงแหวนที่เหลื่อมอยู่ระหว่างกายและใจ นั่นคือ “วงแหวนแห่งจิตวิญญาณ”
                                       ี
               วงแหวนนี้อธิบายยาก จะว่าไม่ควรจ าแนกแตกเพมก็ได้ แต่หากท าความเข้าใจได้ฝึกฝนได้ปฏิบัติได้ จะเกิด
                                                           ิ่
               พัฒนาการไปอีกขั้นตอนหนึ่ง สรุปดังนี้
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159