Page 159 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 159
๑๕๓
นายศรัณ มีหลักการที่ใช้ในการสอนเจิงซึ่งเป็นหลักคดที่ดีของการเป็นครู คือ วิชาเมื่อได้จากโลกกคืนสู่โลก
ิ
็
"หัวใจเจิง เดิมพนด้วยชีวิต" เจิงคือศาสตร์และศิลป์ งานสอนเจิงมีความยาก สล่าเจิงต้องพสูจน์ตัวเองไปตลอดชีวิต
ั
ิ
ึ
การสอนฟ้อนเจิงยากในการท าให้คนเข้าใจและเข้าถึงสุนทรียภาพ แต่อย่างน้อยมันไม่มีผิดถูก มีเพียงความพงพอใจ
ื่
ที่จะถ่ายทอดความงามออกมาสู่สายตาผู้คน การสอนเจิงเพอน าไปใช้ในชีวิตจริงเป็นสิ่งที่ยากยิ่งกว่า เพราะเมื่อ
คนเลือกฝากชีวิตไว้กับเจิงของเรา นั่นหมายถึงการเดิมพนด้วยชีวิต เราไม่ประสงค์ให้ใครตกอยู่ในอนตรายหรือ
ั
ั
ื่
ิ
่
ก้าวย่างไปสู่หนทางแห่งภัยพบัติ แต่หากต้องต่อสู้เพอเอาตัวรอด เจิงที่ฝึกฝนมาจะเป็นไพใบสุดท้าย ดังนั้นการฝึก
เพื่อให้คนเกิดความช านาญอย่างยิ่งยวด จึงเป็นงานที่ท้าทายและมุ่งมั่นเสมอมา
สิ่งที่เป็นแบบอย่างทดีของครูนิก คือ นายศรัณ จัดพิธีไหว้ครูเจิงและสรรพวิชาทุกปี ณ บ้านสล่าเจิงล้านนา
ี่
นายศรัณ จะเล่าถึงเรื่องราวของขันครูในวัฒนธรรมล้านนาว่า ขันครูที่ได้ไปขอความเมตตาจาก ครูบาอาจารย์
เพื่อฝากฝังเป็นลูกศิษย์ลูกหามาค้ าชูตัวตน ทุกวันนี้มีทั้งสายบู๊และสายบุ๋น สายบู๊ คือ "ขันครูเจิง" ซึ่งถือกันว่าสืบสาย
นักรบ ได้แก่ ขัน ๑๒ หรือขัน ๒๔ และขัน ๑๖ จัดเป็นประเภทขันครูแรงหรือเรียกว่า "ผีครูแรง" แรงในทางให้คุณ
ี
และให้โทษ ขันครูเจิงทั้งหลายจึงขึ้นชื่อเป็นที่นับถือย าเกรงที่สุด อกประเภทหนึ่งอาจใช้ค าว่า เป็นสายนักปราชญ์
ุ
คือ เด่นทางปัญญาเมตตามหานิยมได้แก่ ขัน ๕ มีโอกาสรับมาสองสายคือขันพระพทธ และขันพระเจ้าห้าพระองค์
สายเขมรัฐนครเชียงตุงไทเขิน ซึ่งรับมาเมื่อศึกษาเรื่องการเรียกขวัญและโหราศาสตร์ไม่แตกฉานทางนี้ แต่ก็มีความรู้
ติดตัวไว้ใช้ประกอบวิถีชีวิต อกขันหนึ่ง คือ ขัน ๙ เรียกกันว่าเป็นขันเทพชั้นสูง ขันเทพนี้มีโอกาสรับความรู้ถึง
ี
๓ แห่ง เป็นที่น่าสังเกตุว่า มีบู๊และบุ๋นในตัว คือ มีทั้งที่เป็นวิชาโหราศาสตร์วิชาดนตรีและวิชามวยวิชาดาบ เป็นต้น
ขันครูต่าง ๆ เป็นสัญลักษณ์แห่งองค์ความรู้ภูมิปัญญา แสดงถึงการน้อมรับและยอมรับระหว่าง ครูกับศิษย์และ
ตัววิชา เป็นเครื่องระลึกถึงคุณของครูบาอาจารย์ เป็นขวัญก าลังใจและเครื่องปกป้องคุ้มภัยให้โชคลาภ อนเป็นทาง
ั
นามธรรม จับต้องไม่ได้แต่รู้สึกและมองเห็นจากภายในจิตใจ ครูทุกสายไม่สอนให้งมงาย แต่ให้ใช้ปัญญาพจารณา
ิ
ไตร่ตรอง ให้เกิดไหวพริบปฏิภาณสู่การน าวิถีชีวิตที่ดีที่งาม คือ สิ่งที่ได้รับเป็นหัวใจของภูมิปัญญา
ควำมรับผิดชอบ ควำมเสียสละ และกำรอุทิศตนท ำงำนด้ำนคุณธรรม / จริยธรรม
นายศรัณ กล่าวว่า เมื่อก้าวเข้าสู่ "วิถีแห่งเจิง" ต้องท าใจให้มั่นคง ไม่หวั่นไหว ใครว่าง่าย ท้อไปหลายครั้ง
ถอยไปจนสุดทางไม่รู้กี่หน บางครั้งถึงกับหันหลังหนี ไม่เอาแล้ว พอแล้ว พอเถอะ ไม่รุ่งไม่รอด ดันทุรังไปมีแต่เจ็บ
กับจน นอกจากจนเงินแล้วยังจนหนทางและจนใจ สัจจะอยู่ที่ใจไม่ใช่เพยงวาจา ถึงจะเก็บวาจาเงียบไปนานเท่าไร
ี
แต่ใจยังจ าไม่ลืมสิ่งที่ตั้งความหวังเกี่ยวกับเจิง เป็นเราเองที่เลือกเดินสู่ทางตัน เลือกสร้างวิชาชีพสล่าเจิง อาชีพที่อยู่
ในจินตนาการมากกว่าความเป็นจริง แต่เพราะมองเห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์จึงยังค่อย ๆ สืบมือ สืบเท้าก้าวคล า