Page 155 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 155
๑๔๙
กำรตีควำมที่หนึ่ง "ภำพรวม"
กาย = หลักการต่อสู้
ใจ = หลักการฟอน
้
จิตวิญญาณ = หลักการภาวนา
กำรตีควำมที่สอง "มุ่งที่เป้ำหมำยกำรต่อสู้"
กาย = การท าลายร่าง (body)
ใจ = การท าลายโครงสร้าง (structure)
จิตวิญญาณ = การท าลายระบบวงจร (system)
กำรตีควำมที่สำม "มุ่งที่เป้ำหมำยกำรฟ้อน"
กาย = ท่วงท่า (form)
ใจ = ท่วงท านองลีลา (style)
จิตวิญญาณ = พลวัต (dynamic)
กำรตีควำมที่สี่ "มุ่งฝึกศักยภำพ"
กาย = ฝึกความแข็งแรงแข็งแกร่ง ท าให้ทนทาน
ใจ = ฝึกควบคุมระบบหายใจ ท าให้มีสติสัมปชัญญะและอึดขึ้น
จิตวิญญาณ = ฝึกควบคุมกายและใจให้เชื่อมโยงประสานกัน เกิดไหวพริบปฏิภาณ
การพลิกแพลงยามวิกฤต
ี่
กำรตีควำมที่ห้ำ "มุ่งทกำรเคลื่อนไหว"
กาย = ท่าที่ใช้ (application)
ใจ = การเคลื่อน (movement)
จิตวิญญาณ = ความเฉียบคม (sharpness)
ิ
ี
จะเห็นได้ว่าวงแหวนทั้งสามท างานสอดประสานกัน และเป็นอสระต่อกันก็ได้ ดังนั้น ใครจะฝึกเพยงวงใด
วงหนึ่งก็ได้ แต่จะเกิดภาวะหนึ่งคือขาดสมดุล ผู้ฝึกจะรู้ ผู้คนดูก็สัมผัสถึงความไม่พอดีได้เช่นกัน หากความบกพร่อง
อยู่ในระดับที่ละเอยดก็ต้องเป็นผู้ช านาญผู้เชี่ยวชาญด้วยกันก็จะวิเคราะห์ได้ลึกซึ้งขึ้นไปเป็นล าดับ อนึ่ง ส าหรับใน
ี
การต่อสู้บางครั้งค าว่าจิตวิญญาณก็อาจหมายถึงโชคช่วยด้วยก็เป็นได้ ดังค าว่า พลิกล็อก ในภาษาการกีฬา เป็นต้น
ื่
ในปัจจุบันการฝึกเจิงเราฝึกเพอการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ช่องทางหรือวิถีเจิงเปลี่ยนไปจากเดิม
ความเข้มข้นในการฝึกเบาบางลงไปเพราะไม่มีช่องทางน าไปใช้ประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมชัดเจนซึ่งไม่ว่าจะมอง
ื่
มุมไหนก็มีสิ่งอนมาทดแทนได้หมด จะเหลือเพยงอย่างเดียวคือความเป็นรากเหง้าทางจิตวิญญาณที่ไม่มีสิ่งใด
ี
มาทดแทนได้ หากจะรักษารากเหง้าจิตวิญญาณต้องรักษาทั้งระบบ คือ ต้องรักษาวงแหวนทั้งสามวง ทิ้งสิ่งใด