Page 10 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 10

4


               บทน า

                        ปัจจุบันระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม และเป็นระบบความมั่นคงของประเทศ
                                                    ี
               โดยมีระบบการบริการสาธารณสุขเป็นเพยงส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพเท่านั้น การมองปัจจัยที่จะมา
               มีผลกระทบต่อระบบสุขภาพในปัจจุบันจึงต้องมองให้รอบด้าน ซึ่งรวมถึงปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาพ

               เนื่องจากในปัจจุบันนี้สถานการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสถานการณ์ด้านสุขภาพ
               และระบบการบริการด้านสาธารณสุขของประเทศไทย ซึ่งระบบการรักษาแบบแพทย์ยังไม่สามารถแก้ปัญหา

                                                     ึ่
               สุขภาพได้ทั้งหมด จึงท าให้ประชาชนต้องพงแพทย์ทางเลือกในการรักษาร่วมกัน หรือทดแทนการแพทย์
                                                                                         ่
               แผนปัจจุบัน เช่น การใช้สมุนไพร การใช้ลูกประคบ การนวดจับเส้น เป็นต้น (ดารณี  ออนชมจันทร์, 2548,
               น. 72) แต่ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ

                                                                                             ึ่
               ของประชาชน ลดการน าเข้าสารเคมี และยาแผนปัจจุบันจากต่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดการพงพาตนเองและ
               สร้างความมั่นคงของระบบยา (ชวัลวลัย เมฆสวัสดิชัย, 2562, น. 517) ดังจะเห็นได้จากแผนแม่บทแห่งชาติ
               ว่าด้วยการพฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการใช้สมุนไพร
                          ั
               เพื่อรักษาโรคและการเสริมสร้างสุขภาพ (กระทรวงสาธารณสุข, 2559, น. 8)
                                      ้
                        ชุมชนบ้านแม่ฮอยเงิน อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหนึ่งชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่

               ที่มีองค์ความรู้ด้านการแพทย์พนบ้านการรักษาโรคด้วยสมุนไพร ซึ่งเป็นมรดกของชุมชนที่ถ่ายทอด
                                            ื้
               จากบรรพชนนับจากอดีตสู่ปัจจุบัน แต่ปัจจุบันชุมชนบ้านแม่ฮอยเงินก าลังเผชิญกับการสูญหายไป
                                                                        ้
                                                                      ื้
               ขององค์ความรู้ด้านการรักษาโรคด้วยสมุนไพร ประกอบกับหมอพนบ้านยังไม่ได้รับการรับรองในเชิงกฎหมาย
               จึงท าให้ถูกมองว่าเป็นหมอเถื่อน ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวจะท าให้ระบบการดูแลสุขภาพโดยหมอพนบ้าน
                                                                                                    ื้
               อยู่ในสถานการณ์เสี่ยงต่อการเสื่อมสูญไปจากชุมชนอันเนื่องมาจากการขาดการยอมรับ การไม่เห็นคุณค่า และ

               การขาดซึ่งการสืบทอด ด้วยเหตุผลดังกล่ว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาพนบ้านด้านการดูแล
                                                                                          ื้
                                                                                      ื่
               รักษาสุขภาพของชุมชนบ้านแม่ฮอยเงิน อาเภอดอยสะเก็ด ในจังหวัดเชียงใหม่ เพอเสนอแนวทางในการ
                                            ้

               อนุรักษ์สมุนไพรในการรักษาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งจะน าไปสู่การรักษาไว้ซึ่งองค์ความรู้ของชุมชนให้คงอยู่
               สืบไป


               วัตถุประสงค์ของการวิจัย

                       1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาด้านสุขภาพในชุมชนบ้านแม่ฮอยเงิน
                                                                   ้
                       2. เพื่อศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลสุขภาพในชุมชน

                                                                               ้
                       3. เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์สมุนไพรในการรักษาสุขภาพบ้านแม่ฮอยเงิน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15