Page 12 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 12

6


               ผลการวิจัย

                           1. สภาพปัญหาด้านสุขภาพในชุมชนบ้านแม่ฮอยเงิน พบว่า ประชาชนบ้านแม่ฮอยเงินส่วนใหญ่
                                                                 ้
                                                                                             ้
               มีสุขภาพดี คิดเป็นร้อยละ 80.0 ปัญหาด้านสุขภาพ ได้แก่ อาการปวดเมื่อย คิดเป็นร้อยละ 68.67 ซึ่งมีสาเหตุ
               มาจากการท างานหนัก คิดเป็นร้อยละ 40.0 โดยมีการรักษา จ านวน 1 – 2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 81.0

               รักษาด้วยการนวด คิดเป็นร้อยละ 67.0 ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจ าตัว คิดเป็นร้อยละ 75.0 มีการใช้ยาเป็นประจ า
               คิดเป็นร้อยละ 64.33 ซึ่งเป็นยาแผนปัจจุบัน คิดเป็นร้อยละ 39.0 มีปัญหาด้านสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 67.33

               และมีอาการปวดเมื่อย คิดเป็นร้อยละ 67.67
                                                                                     ้
                           2. องค์ความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลสุขภาพในชุมชนบ้านแม่ฮอยเงิน พบว่า ประชาชน
                       ้
               บ้านแม่ฮอยเงินดูแลสุขภาพด้วยการกินอาหารที่ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 46.67 มีการใช้สมุนไพร คิดเป็น
               ร้อยละ 84.33 มีวิธีการรักษาโดยการไปพบแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 56.33 รักษาด้วยการนวด คิดเป็นร้อยละ
               51.00 และรักษาด้วยการไปอนามัยชุมชน คิดเป็นร้อยละ 61.00  โดยมีการแบ่งปันความรู้ด้านการใช้สมุนไพร

               คิดเป็นร้อยละ 72.67 โดยน าสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจ าวัน คิดเป็นร้อยละ 87.67 ด้วยการน ามาประกอบ
               อาหาร คิดเป็นร้อยละ 90.0 มีความรู้เรื่องสมุนไพรในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 44.0 และ

               มีบุคคลภายนอกชุมชนเข้ามาศึกษาเรื่องสมุนไพรภายในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 89.0

                                                                                   ้
                           3. แนวทางในการอนุรักษ์สมุนไพรในการรักษาสุขภาพบ้านแม่ฮอยเงิน พบว่า ชุมชนบ้าน
               แม่ฮอยเงินมีแนวทางการอนุรักษ์สมุนไพรภายในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 91.67 ชุมชนได้รับการสนับสนุน
                   ้
               การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคจากหน่วยงานต่าง ๆ คิดเป็นร้อยละ 58.33 โดยเป็นสมุนไพรที่สามารถ

               หาได้จากธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 45.67 ด้วยการน ามาประกอบอาหาร คิดเป็นร้อยละ 49.33 ซึ่งสมุนไพร
                                       ี
               ที่คนในชุมชนใช้อยู่มีความเพยงพอ คิดเป็นร้อยละ 85.33  โดยควรใช้ควบคู่กันระหว่างสมุนไพรกับการแพทย์
               สมัยใหม่ คิดเป็นร้อยละ 50.00 และควรได้รับการอนุรักษ์สมุนไพร คิดเป็นร้อยละ 94.67
                           จากการสัมภาษณ์ พบว่า ประชาชนในชุมชนบ้านแม่ฮอยเงินมีประวัติความเป็นมาด้านการดูแล
                                                                       ้
               สุขภาพในชุมชน ส่วนใหญ่คนในอดีตจะมีร่างกายที่แข็งแรง เนื่องจากมีการขยับร่างกายสม่ าเสมอ และมีการใช้

               ร่างกายในการท างาน จึงเสมือนกับออกก าลังกายไปพร้อมกับการท างาน แต่ปัจจุบันสาเหตุของการเจ็บป่วย
               ของคนยุคปัจจุบันเกิดจากการนั่งท างานเป็นเวลานาน จึงท าให้ปวดเมื่อยตามร่างกาย เกิดโรคกระดูกทับเส้น

                                    ็
               เส้นเลือดตีบ ปวดเส้นเอน โรคความดัน โดยส่วนใหญ่เกิดจากการที่ไม่ออกก าลังกาย ไม่ดูแลสุขภาพ และ
                                                                 ้
               พักผ่อนไม่เพียงพอ (พระครูหิรัญศุภธาดา, เจ้าอาวาสวัดแม่ฮอยเงิน, 2563) ซึ่งอาการเหล่านี้ท าให้เกิดการป่วย
               และปวดเมื่อยตามร่างกาย ส่วนใหญ่จะมีวิธีการดูรักษาด้วยการรับประทานยาต้มสมุนไพรกินตามอาการ

               ที่เป็นอยู่ และใช้วิธีการรักษาด้วยแพทย์ทางเลือก (หมอพนบ้าน) เช่น การตอกเส้น การนวด และการย่ าขาง
                                                               ื้
                                                                                        ิ่
                       ื้
               ซึ่งหมอพนบ้านได้รับการสืบทอดองค์ความรู้จากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น และเรียนรู้เพมเติมจากผู้เฒ่าผู้แก่
               ที่มีความรู้ที่ภายในชุมชน เช่น ยานวด น้ ามันสมุนไพร น้ ามันมะพร้าวสกัดเย็น ยาหม่องคลายเส้น เป็นต้น
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17