Page 13 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 13

7


                           วิธีการที่ชุมชนใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ ได้แก่ การรักษาแพทย์แผนไทย รักษากับแพทย์

               อนามัยชุมชนและโรงพยาบาล รวมถึงการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ โดยใช้สมุนไพรเป็นยารักษาโรคและ
               บ ารุงร่างกาย รวมถึงน ามาประกอบอาหาร ซึ่งสมุนไพรส่วนใหญ่สามารถหาได้ภายในครัวเรือน และภายใน

               ชุมชน มีทั้งที่ปลูกและขึ้นเองตามธรรมชาติ ทั้งนี้ ชุมชนยังได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐหรือ

                                                                    ี
               หน่วยงานในท้องถิ่น ซึ่งงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนไม่เพยงพอต่อการกระจายให้หมอพนบ้าน ดังนั้น
                                                                                              ื้
                                                                             ื้
               ทางชุมชนจึงได้ใช้วิธีการน าไปซื้ออปกรณ์และเครื่องใช้ให้แก่กลุ่มหมอพนบ้านแทน รวมถึงทางผู้น าชุมชน
                                             ุ
                       ้
               บ้านแม่ฮอยเงิน ได้มีแนวทางในการอนุรักษ์สมุนไพรด้วยการสนับสนุนและส่งเสริมให้คนในชุมชนทุกครัวเรือน
               ปลูกพชผักสวนครัว และสมุนไพรไว้ในบ้าน จึงท าให้คนในชุมชนมีสมุนไพรต่าง ๆ ที่ปลูกเอง ส าหรับ
                     ื
               การประกอบอาหารและเป็นยาสมุนไพรในการรักษาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน



               อภิปรายผล

                                                                    ้
                        สภาพปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนบ้านแม่ฮอยเงิน คนส่วนใหญ่มีสาเหตุอาการเจ็บป่วย
               มาจากการนั่งนาน ๆ การยกของหนัก และการมีอายุมาก ส่งผลให้ปวดหัวเข่า และปวดเมื่อยตามร่างกาย
                                                                       ื่
               ซึ่งวิธีการรักษาจะมีการใช้สมุนไพรที่ได้รับสืบทอดจากบรรพบุรุษเพอใช้ในการรักษาสุขภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ
               แนวคิดเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของ เสรี พงศ์พศ (2548) ที่อธิบายว่า การสืบทอดภูมิปัญญาจากคนรุ่นหนึ่ง
                                                       ิ
               สู่คนอกรุ่นหนึ่งนั้นสามารถเกิดขึ้นได้หลายช่องทาง ได้แก่ ครอบครัว วัด ส านัก ชุมชน เป็นต้น ซึ่งการเรียนรู้
                     ี
               ในอดีตเรียนจะเป็นวิธีการสอนด้วยการให้สังเกตสิ่งที่พอแม่ท า และจากการปฏิบัติด้วยการช่วยพอแม่ท า
                                                              ่
                                                                                                   ่
               จากนั้นจะหัดท าเอง ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการสังเกตและปฏิบัติด้วยตนเอง เช่น การท ามาหากิน
               การท าเครื่องมือเครื่องใช้ การทอผ้า หัตถกรรม เป็นต้น ล้วนแล้วแต่เกิดจากการสังเกต ปฏิบัติ และซึมซับ

               ทีละเล็กทีละน้อย นอกจากนี้ งานวิจัยของ อจฉรา สุมังเกษตร (2559) เรื่อง การจัดการความรู้ภูมิปัญญา
                                                      ั
               ของปราชญ์ชาวผู้ไทด้านการใช้สมุนไพรรักษาโรค ต าบลหนองผือ อาเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า

               รูปแบบในการรักษาของหมอพนบ้านมีทั้งการใช้ยาสมุนไพรเดี่ยว ต ารับ และคาถาร่วมด้วย เมื่อผู้ป่วย
                                           ื้
               เกิดอาการเจ็บปวดก็จะหาวิธีการที่ท าให้หายป่วยและมีสุขภาพดีขึ้น ด้วยการแสวงหาวิธีการการรักษา

               ในรูปแบบต่าง ๆ ในขณะที่ นิธิ เอยวศรีวงศ์ (2536) ระบุว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่เกิดขึ้นเฉพาะใน
                                            ี
               แต่ละท้องถิ่นที่จัดการไว้อย่างเป็นระบบให้เข้าใจได้โดยที่ได้มีการสั่งสม ปรับปรุง และถ่ายทอดให้กับคนรุ่นหลัง

               นอกจากนี้แนวคิดของ ประเวศ วะสี (2530) ให้ข้อมูลว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นภูมิปัญญาที่มาจาก

                                                                                               ิ
               ประสบการณ์จริง จึงมีความเป็นบูรณาการสูงในเรื่องของกาย ใจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น พธีลอยกระทง
               พธีแรกนาขวัญ ฯลฯ พธีดังกล่าวเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่น าเอาธรรมชาติมาสร้างให้เกิดความศักดิ์สิทธิ์
                                   ิ
                 ิ
               เพื่อให้คนเคารพธรรมชาติ และไม่ท าลายธรรมชาติ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18