Page 14 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 14
8 8
้
ชุมชนบ้านแม่ฮอยเงินสืบทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาพนบ้านด้านการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญา
ื้
ื่
ท้องถิ่นด้านสุขภาพการแพทย์แผนไทย การแพทย์พนบ้าน และการแพทย์ทางเลือกอย่างต่อเนื่อง เพอมุ่งสู่
ื้
ั
การพัฒนาตนเองด้านสุขภาพด้วยภูมิปัญญาและรู้จักการน าสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ สอดคล้องกบแนวคิดเรื่อง
การแพทย์แผนไทยของ ปัทมาวดี กสิกรรม (2545) ที่อธิบายว่า การแพทย์แผนไทย คือ ระบบการแพทย์
ื้
แผนดั้งเดิมของไทย ซึ่งมาจากการผสมผสานระหว่างการแพทย์พนบ้านที่มีการจัดระบบองค์ความรู้แล้ว
กับการแพทย์อายุรเวทของอนเดีย ซึ่งเข้ามามีอทธิพลพร้อมกับการเผยแพร่ของศาสนาพราหมณ์และพทธ
ุ
ิ
ิ
โดยมีต าราต่าง ๆ ที่สืบทอดมาเป็นเวลานาน และใช้เป็นแม่บทหลักของระบบองค์ความรู้ซึ่งอาศัยหลักการ
ปรับสมดุลของธาตุภายในร่างกายโดยใช้ยาต ารับ ซึ่งปรุงจากสมุนไพรหลายชนิด และการนวด รวมไปถึง
การให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการปรับพฤติกรรมและอาหารให้เหมาะสมกับธาตุเจ้าเรือนและความเจ็บป่วย
์
อกทั้งงานวิจัยของ พมพชนก วรรณเเจ่ม (2560) เรื่อง รูปแบบการดูแลรักษาสุขภาพโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ิ
ี
ื้
ด้านการแพทย์พนบ้าน อาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า การศึกษาสถานการณ์ของการดูแลรักษา
สุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์พนบ้าน การรับรู้ของประชาชน พบว่า โดยภาพรวมประชาชน
ื้
ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์พนบ้าน อยู่ในระดับค่อนข้างมาก กล่าวคือ วิถีชีวิตด ารงอยู่โดยอาศัย
ื้
ทางทรัพยากรธรรมชาติและสร้างวัฒนธรรมของตนเองอย่างมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับฐานทรัพยากร รวมถึง
วัฒนธรรมด้านการดูแลสุขภาพที่ได้รับการถ่ายทอดให้รู้จักน าสมุนไพรและพืชพรรณนานาชนิดที่มีอยู่ในท้องถิ่น
มาเป็นอาหารและยารักษาตนเอง
แนวทางในการอนุรักษ์สมุนไพรในการรักษาสุขภาพบ้านแม่ฮอยเงิน คือ ชุมชนมีการรักษาสุขภาพ
้
ด้วยการออกก าลังกาย และการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค ซึ่งสมุนไพรส่วนใหญ่ได้มาจากการปลูกไว้
ในครัวเรือนและหาได้ตามธรรมชาติ เพื่อใช้ในการรักษาสุขภาพ ซึ่งมีความสอดคล้องกับแนวคิดเรื่อง ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544) ที่อธิบายว่า การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความสามารถเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งการอนุรักษ์
และพฒนา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน เช่น การบวชป่า
ั
การสืบชะตาแม่น้ า การท าปะการังเทียม เป็นต้น ซึ่งการรักษาในลักษณะทางเลือกของชุมชนมีความสอดคล้อง
กับงานวิจัยของ วิยะดา รัตนเพชร (2556) ที่ศึกษาแนวทางการอนุรักษ์พฒนาและเผยแพร่ภูมิปัญญาพนบ้าน
ั
ื้
ด้านการดูแลรักษาสุขภาพชุมชน ต าบลก าพ อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ในโครงการแหล่งเรียนรู้
ี้
บ้านก าพ พบว่า สภาพปัจจุบันด้านปัญหาสุขภาพในชุมชนมีสภาวะที่มีทางเลือกเป็นภูมิปัญญา ดั้งเดิมของ
ี้
ชุมชนในการดูแลสุขภาพด้วยวิธีธรรมชาติ และใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ก าลังจะสูญหายไป เพราะไม่ได้รับ
การสืบทอดของคนรุ่นปัจจุบันได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างปราชญ์ผู้รู้และหมอพนบ้านในชุมชนและ
ื้
ได้รับการส่งเสริมต่อเติมองค์ความรู้จากวิทยากรภายนอก และการเผยแพร่ภูมิปัญญาพนบ้าน
ื้
ด้านการดูแลสุขภาพ