Page 32 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 32

๒๖
         26






                                ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
                                1. ในการวิจัยครั้งต่อไปควรมีการขยายขอบเขตของประชากร เพื่อศึกษาประชากร

                       ในกลุ่มที่กว้างขึ้น และเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการเปรียบเทียบการศึกษา และสอดคล้องกับ
                       การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน

                                2. จากผลการวิจัยในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงวิธีการ และแนวทางในการอนุรักษ์ภูมิปัญญา

                       ของหมอพื้นบ้านในการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคบ้านไร่กองขิง ตำบลหนองควาย อำเภอหางดง
                       จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในการทำวิจัยครั้งต่อไปคณะผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านในการใช้

                       สมุนไพรรักษาโรคอุบัติใหม่


                       บรรณานุกรม

                                                                                           ั
                                                                                                 ื้
                                                                                                      ิ
                       Green Network. (2562). กระทรวงการท่องเที่ยวและองค์การบริหารการพฒนาพนที่พเศษ
                                ื่
                              เพอการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ยกระดับท่องเที่ยว “ชุมชนบ้านไร่กองขิง”จังหวัดเชียงใหม่
                              เป็นหมู่บ้านแห่งสุขภาพ เมืองสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม. สืบค้นจาก www.greennetwork

                              thailand.com

                       ณัฏฐ์ฐภรณ์ ปัญจขันธ์ และ ยงยุทธ แก้วเต็ม. (2551). กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ

                               ดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ

                               สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 5(1), 10-23.

                                                                      ื้
                       ทิพพา ลุนเพ่. (2562). รูปแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นหมอพนบ้านด้านสมุนไพร จังหวัดมหาสารคาม
                               มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

                       ทิพย์วารี สงนอก และ นนทิยา จันทร์เนตร์. (2561). ภูมิปัญญาด้านการบ าบัดรักษาโรคของหมอยา

                               พื้นบ้านในจังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

                       นวพรรษ ผลดี และ วรชาติ โตแก้ว. (2560). ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น


                                        ื้
                               ในชุมชนพนที่ป่าชุมชนบ้านหินฮาว อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น. มหาสารคาม:
                               มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

                       พรทิพย์ แก้วชิณ และ นฤทธิ์ พลสูงเนิน. (2558). การศึกษาภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในเขตอำเภอ

                               วังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

                               “สร้างสรรค์และพฒนาเพอก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” 2(18-19 มิถุนายน 2558).
                                               ั
                                                      ื่
                               นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37