Page 36 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 36
29
๓๐
บทคัดย่อ
ื่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพอ 1) ศึกษาความเป็นมาของนวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโน บ้านหนองเงือก
ู
ต าบลแม่แรง อ าเภอป่าซาง จังหวัดล าพน 2) ศึกษาขั้นตอนกระบวนการสร้างนวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโน และ
ื่
3) เพอส่งเสริมต่อยอดด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายนาโน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
(qualitative research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ครั้งนี้ คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผ้าฝ้ายทอมือ - ผ้าฝ้ายนาโน บ้านหนองเงือก และกลุ่มผู้บริโภค
/ ลูกค้า จ านวน 364 คน เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ โดยการวิเคราะห์สถิติ
เชิงพรรณา ด้วยการน าข้อมูลมาบรรยายในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการศกษา
ึ
ผลวิจัย พบว่า นวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโนเกิดจากประชาชนในชุมชนที่อาศัยอยู่บ้านหนองเงือก
ส่วนใหญ่มีอาชีพทอผ้ามาตั้งแต่ดั้งเดิม จากนั้นจึงรวมกันจัดตั้งกลุ่มทอผ้าฝ้ายขึ้นมา เริ่มแรกมีสมาชิกเพยง
ี
17 คน ส่วนกระบวนการสร้างนวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโนจะใช้เอนไซม์ ENZease (เอนอซ) ในกระบวนการเตรียม
ี
ผ้าฝ้ายส าหรับการฟอกย้อมด้วยการลอกแป้งและก าจัดสิ่งสกปรก หลังจากการทอมือแล้วเสร็จทางร้านจะน า
ื่
ผ้าที่ได้ส่งไปท าการเคลือบ ณ ส านักงานพฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพอเพม
ั
ิ่
ความนุ่มลื่น กลิ่นหอม ต่อต้านแบคทีเรีย ต่อต้านยูวี และสะท้อนน้ า ทั้งนี้ การส่งเสริมและต่อยอด
ั
ทางการตลาดที่มีต่อผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายนาโนได้ส่งผลให้มีการพฒนารูปแบบใหม่ ด้วยการน าเอาลวดลายดั้งเดิม
มาทอ เพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน และสร้างอัตลักษณ์ผ้าทอของชุมชน
ค าส าคัญ: นวัตกรรมนาโน ผ้าฝ้ายทอมือ ล าพูน