Page 38 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 38
๓๒
31
บทน า
การทอผ้าฝ้ายในประเทศไทยมีขึ้นหลังการทอผ้าจากป่านกัญชา สันนิษฐานได้ว่า ประเทศไทย
ิ
ั
มีการปลูกฝ้ายโดยน าเอาพนธุ์ฝ้ายมาจากประเทศอนเดีย (mohmkit, 2564) เนื่องจากผ้าทอจากฝ้ายมีเนื้อนุ่ม
สวมใส่สบาย ย้อมติดสีได้ดีกว่าผ้าป่านกัญชา ขั้นตอนและกระบวนการแยกและจัดเตรียมฝ้ายไม่ยุ่งยาก และ
ใช้เวลาน้อยกว่า จึงท าให้ความนิยมในการใช้ป่านกัญชาทอผ้าลดลง ปัจจุบันแหล่งปลูกฝ้ายในประเทศไทย คือ
ั
จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ ลพบุรี ปราจีนบุรี สุโขทัย เพชรบุรี นครราชสีมา และกาญจนบุรี พนธุ์ฝ้าย
ในประเทศไทยมีหลากหลายชนิด และมีพนธุ์ฝ้ายพนเมือง 2 สายพนธุ์ ซึ่งให้ปุยสีขาว ส่วนฝ้ายพนธุ์ที่ให้ปุย
ั
ั
ั
ื้
สีน้ าตาลหรือที่เรียกกันว่า สีขี้ตุ่นหรือสีตุ่น โดยเรียกฝ้ายพันธุ์นี้ว่า “ฝ้ายตุ่น” ฝ้ายตุ่นเป็นพันธุ์ฝ้ายที่หายากและ
ั
ปั่นยากกว่าฝ้ายพนธุ์สีขาว เนื่องจากมีปุยสั้นและไม่ค่อยฟเช่นพนธุ์สีขาว ดอกฝ้ายตุ่นจะมีขนาดเล็กสีน้ าตาล
ั
ู
ุ
ั
ื่
และเส้นใยสั้นจะเป็นวัตถุดิบส าคัญในการทอผ้าด้วยมือ ส่วนฝ้ายพนธุ์อน ๆ มักใช้ทอผ้าในระดับอตสาหกรรม
ชาวล้านนาจะเริ่มปลูกฝ้ายราวเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในเดือนพฤศจิกายน โดยจะเก็บฝ้ายก่อนที่ฝ้าย
จะร่วงลงสู่พน เพอป้องกันไม่ให้ฝ้ายสกปรก หลังจากเก็บฝ้ายแล้วจะน าไปตาก เพอคัดแยกเอาแมลงและ
ื่
ื่
ื้
สิ่งสกปรกออกก่อนจะน าไปหีดหรืออัดฝ้าย (อองตอง, 2558)
ื้
ุ
ผ้าทอพนเมืองของไทยเป็นหนึ่งอตสาหกรรมการผลิตภายในครัวเรือน อุตสาหกรรมการทอผ้า
ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศ จากการส่งออกผ้าทอของไทยในระดับดาวรุ่งที่สามารถขับเคลื่อน
ั
ั
เศรษฐกิจได้อย่างมาก รวมทั้งการวิจัยพฒนาใยผ้า การพฒนาเนื้อผ้า การออกแบบ และการตัดเย็บ อย่างไร
ก็ตามผ้าทอพนเมืองเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่เก่าแก่และมีความส าคัญอย่างมาก แต่หากเปรียบเทียบ
ื้
ื่
ั
ื้
การพฒนาผ้าทอกับผลิตภัณฑ์อน ๆ พบว่า ผ้าทอพนเมืองมีการพฒนาเป็นไปอย่างช้า ๆ (สแปนเด๊กซ์, 2561)
ั
่
ผ้าทอมือถือเป็นเอกลักษณ์ของไทย เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าขาวม้า ม่อฮอม ผ้าฝ้ายตีนจก ผ้าไหม เป็นต้น
เป็นสิ่งที่คนไทยถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทรงคุณค่าและล้วนชื่นชม ในความสวยงามผ้าทอไทยด้วยความมี
เอกลักษณ์เป็นของตนเอง และมีลวดลายการทอที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของไทย จุดเด่นของผ้าทอมือ
ที่ท าจากผ้าฝ้าย มีคุณสมบัติ คือ ซับเหงื่อได้ดี สวมใส่สบาย แต่ข้อเสีย คือ การน ามาสวมใส่ครั้งแรกจะท าให้
ระคายผิว แต่หากซักบ่อย ๆ จะท าให้ผ้าอ่อนนุ่มและสวมใส่สบาย ดังนั้น คนส่วนใหญ่จึงไม่นิยมน าผ้าฝ้ายไปตัด
เสื้อผ้า แต่จะน ามาท าผ้าม่าน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าคลุมเฟอร์นิเจอร์ รองเท้า กระเป๋า ฯลฯ มากกว่า
่
องค์ความรู้นาโนเทคโนโลยีและคุณสมบัติของอนุภาคนาโน เช่น การท าเส้นใยให้ออนนุ่ม
การสะท้อนน้ า การป้องกนรังสียูวี การป้องกนเชื้อแบคทีเรีย ความสามารถในการท าให้มีกลิ่นหอม ติดทนนาน
ั
ั
และการติดไฟได้ยาก สามารถน าคุณสมบัติเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในอตสาหกรรมทอมือผ้าพนเมือง ซึ่งจะเป็น
ื้
ุ
ั
่
การก าจัดจุดออนของผ้าฝ้าย ท าให้ผู้ซื้อตัดสินใจซื้อได้ง่าย และสามารถพฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ได้ตาม
ความต้องการของผู้ซื้อ ผู้ที่จะน าเทคโนโลยีนาโนมาประยุกต์กับอตสาหกรรมผ้าทอมือนั้นต้องมีความรู้และ
ุ
ื่
เข้าใจกระบวนการผลิตในแต่ละขั้นตอนเพอให้สามารถน านาโนเทคโนโลยีมาใช้งานอย่างเหมาะสมและ
ต้องมีการวิเคราะห์โจทย์และขั้นตอนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งมีการวิเคราะห์ด้านการลงทุน เช่น ผู้ลงทุน
รูปแบบการด าเนินการและการรวมกลุ่มชาวบ้าน เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (สแปนเด็กซ์, 2561)