Page 39 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 39

๓๓
                                                                                                              32


                                                                              ู
                        บ้านหนองเงือก ตั้งอยู่ในต าบลแม่แรง อาเภอป่าซาง จังหวัดล าพน ชาวบ้านส่วนใหญ่มีเชื้อสายยอง

                                          ู
               “ยอง” เป็นชื่อเรียกกลุ่มคนที่พดภาษาตระกูลไท มีถิ่นฐานบ้านเกิดอยู่ที่เมืองยองซึ่งอยู่ในประเทศเมียนมาร์
               ในปัจจุบัน จากประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาวไทยอง พบว่าชาวไทยองได้ถูกกวาดต้อนเข้ามาในประเทศ

               ไทยเมื่อสองร้อยกว่าปีที่แล้ว บ้านหนองเงือกเป็นชุมชนที่มีวิถีชีวิตผูกพนกับการทอผ้ามาอย่างยาวนาน
                                                                             ั
               นับเป็นแหล่งผลิตผ้าฝ้ายที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ โดยเฉพาะ “ผ้าฝ้ายทอมือ” แต่เนื่องจากปัญหาการผลิต
                      ื้
               ผ้าทอพนเมืองที่ผ่านมา พบว่าผู้บริโภคไม่นิยมสวมใส่ผ้าทอมือ เนื่องจากผ้าฝ้ายมีความแข็งและกระด้าง
               ส่วนใหญ่จะน าไปใช้เป็นหัตถกรรมสิ่งทอในครัวเรือน (เอ็มจีอาร์ออนไลน์, 2559)
                        ปัจจุบันชาวบ้านบ้านหนองเงือกได้น าองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์และสร้างผลิตภัณฑ์

               นาโนที่หลากหลายประเภท ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง และการเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว

               เชิงวัฒนธรรม โดยมี เทศบาลต าบลแม่แรง อ าเภอป่าซาง จังหวัดล าพน และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
                                                                          ู
               ให้การสนับสนุนการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีวิถีชีวิตและภูมิปัญญาเกี่ยวกับผ้าฝ้ายทอมือ โดยร่วมกับหน่วยงาน

               เครือข่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้วยการปรับเส้นใยฝ้ายทอมือให้มีขนาดที่เล็กลง และเส้นฝ้ายมีหลายสี
                                                                                       ิ่
                                   ั
               ผสมกัน ท าให้เกิดการพฒนาผลิตภัณฑ์ที่ลดการใช้วัตถุดิบ ลดต้นทุน และสร้างมูลค่าเพมได้อย่างน่าทึ่ง รวมถึง
               สามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้น และได้น าเทคโนโลยีอน ๆ ของส านักงานพฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                            ื่
                                                                             ั
                                                                                        ี
               แห่งชาติ (สวทช.) ไปปรับใช้ในกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายทอมือ เช่น การใช้เอนไซม์เอนอซ (ENZease) การใช้
               เอนไซม์อัจฉริยะทูอินวัน ซึ่งผลิตได้จากการหมักเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยใช้จุลินทรีย์ โดยมีจุดเด่นที่

               ส าคัญ คือ ไม่ส่งผลเสียต่อคุณภาพและความแข็งแรงของผ้า สามารถลอกแป้งและก าจัดสิ่งสกปรกบนผ้าฝ้าย

               ได้พร้อมกันในขั้นตอนเดียว ช่วยประหยัดเวลา ประหยัดพลังงาน ลดต้นทุนในการผลิต และรักษาสิ่งแวดล้อม
                                                ์
                                             ิ
               นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคโนโลยีพมพสกรีนผ้าด้วยสีธรรมชาติ ซึ่งผลิตจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบล าไย
               เปลือกต้นสะเดา และดอกดาวเรือง เป็นต้น จากนั้นน ามาต้มสกัดในน้ า และท าการระเหยจนได้น้ าสีสารละลาย
               เข้มข้น แต่หากต้องการเก็บไว้ใช้ในรูปของผงสีสามารถน าสีสารละลายเข้มข้นมาผ่านลมร้อนในเครื่องสเปรย์-

               ดราย จะท าให้ได้ผงสีพร้อมใช้ (มติชนรายวัน, 2562)

                        จากเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะน าผ้าฝ้ายนาโนซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่มาถ่ายทอดองค์ความรู้
                  ื่
               เพอให้เกิดการพฒนางานและเป็นต้นแบบทางความคิดในการสร้างสรรค์และแหล่งก าเนิดสินค้าแฟชั่น
                              ั
                                     ั
               ผ้าทอนาโนที่มีความเป็นอตลักษณ์ของตนเองและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสร้างความแตกต่างให้กับสินค้า
               แ ล ะเกิดการต่อยอดทางธุรกิจ ท าให้เกิดมูลค่าเพมทางเศรษฐกิจ และการสร้างนักออกแบบ
                                                               ิ่
                                                                                                        ิ่
               จากกลุ่มผู้ประกอบการ OTOP กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อีกทั้งการหาแนวทางการต่อยอดทางธุรกิจ มูลค่าเพม
               ทางเศรษฐกิจสู่ตลาดภายในประเทศ และตลาดต่างประเทศในอนาคต
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44