Page 44 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 44
๓๘
37
สรุปและอภิปรายผล
ู
นวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโนบ้านหนองเงือก ต าบลแม่แรง อาเภอป่าซาง จังหวัดล าพน จากการที่คน
ื่
ในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพดั้งเดิม คือ การทอผ้า และได้มีการรวมกลุ่มกันเพอจัดตั้งกลุ่มทอผ้าฝ้าย ซึ่งสมาชิก
แรกเริ่มมีจ านวน 17 คน และใช้นวัตกรรมในการแก้ไขความแข็งกระด้างของผ้าฝ้ายเทคโนโลยีนาโน จึงท าให้
ผ้าฝ้ายมีความนุ่มลื่น มีกลิ่นหอม ต้านแบคทีเรีย ต้านยูวี และสะท้อนน้ า ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับ
้
นวัตกรรมของ Robbins and Coulter (2002 อางถึงใน ประสพชัย พสุนนท์ 2563) ได้ให้ความหมายว่า
นวัตกรรม คือ กระบวนการน าความคิดสร้างสรรค์ มาแปลงให้เป็นสินค้า บริการ หรือวิธีการท างานใหม่ ๆ
ให้เกิดประโยชน์ หรือท าให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น สอดคล้องกับศศิธร โนนสังข์ และคณะ (2555) จากการศึกษา
พบว่า งานวิจัยนี้เป็นการพฒนาสมบัติของเส้นไหมด้วยนาโนซิงค์ ออกไซด์ย้อมด้วยสีธรรมชาติ โดยใช้สารเคม
ี
ั
ช่วยกระจายตัวนาโนซิงค์ออกไซด์ คือ สารอะครีลิกและสารพอลิอเทอร์ฟอสเฟต โดยเคลือบเส้นไหมด้วยนาโน
ี
ซิงค์ออกไซด์ เพอให้ได้คุณสมบัติตรงตามที่ต้องการ สอดคล้องกับสุดาพร ตังควนิช (2561) จากการศึกษา
ื่
ผ้าฝ้ายนาโนคาร์บอนเเละไทเทเนียมไดออกไซด์ย้อมด้วยสีจากเปลือกหอมแดง ด้วยการน าผ้าฝ้ายมาเคลือบ
ด้วยนาโนคาร์บอนเเละนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์ทดสอบความคงทนของสีต่อการซักล้าง วิเคราะห์
ความสามารถในการปัองกันรังสียูวี ทดสอบการยับยั้งเชื้อราและแบคทีเรีย
กระบวนการสร้างนวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโนบ้านหนองเงือก มีการใช้เอนไซม์ ENZease (เอนอซ)
ี
ในกระบวนการเตรียมผ้าฝ้ายส าหรับการฟอกย้อม ด้วยการลอกแป้งและก าจัดสิ่งสกปรก ในส่วนหลังจาก
การทอมือแล้วเสร็จทางร้านจะน าผ้าที่ได้ส่งไปเคลือบทางศูนย์ส านักงานพฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ั
ื่
ิ่
แห่งชาติ (สวทช.) เพอเพมคุณสมบัติทั้ง 5 ข้อ ความนุ่มลื่น กลิ่นหอม ต้านแบคทีเรีย ต้านยูวี และสะท้อนน้ า
สอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับนาโนเทคโนโลยีของอฐพงศ์ แสงงาม (2556) ที่กล่าวว่า สิ่งทอนาโนเป็นสิ่งทอ
ั
ิ่
ทั่วไปที่มีการน า “นาโนเทคโนโลยี” มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตหรือหลังจากการผลิต เพอเพม
ื่
ิ
ิ่
ประสิทธิภาพของสิ่งทอนั้นให้มีคุณสมบัติพเศษเพมขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของสุดกมล ลาโสภา (2560)
ที่ศึกษาเกี่ยวกับการดัดแปรผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติด้วยไคโตซานซิงค์ออกไซด์ และซิลเวอร์อนุภาคนาโน
โดยใช้วิธีทางเคมีสีเขียวเพอเป็นการเพมประสิทธิภาพในการปรับปรุงและเพมประสิทธิภาพในกระบวนการ
ื่
ิ่
ิ่
ย้อมสีธรรมชาติ โดยมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหา ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติในเรื่องของเฉดสี ความคงทนของสี และ
ื่
เพอเพมจุดเด่นให้กับผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ด้านการต้านแบคทีเรีย การป้องกันรังสียูวี ความคงทนต่อ
ิ่
การดึง การกระแทก และการระบายอากาศ อกทั้งมุ่งเน้นการน าไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชุมชน งานวิจัยนี้
ี
ิ่
คาดว่าจะเป็นแนวทางหนึ่งในการเพมมูลค่า และสร้างความหลากหลายให้เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์นอกเหนือ
ั
จากการสวมใส่ และสอดคล้องกับอฐพงศ์ แสงงาม (2556) จากการศึกษาสิ่งทอกับนาโนเทคโนโลยีพบว่า
จากนโยบายของรัฐบาลปัจจุบันมีการสนับสนุนให้มีการสวมใส่เสื้อผ้าพนเมืองให้กับกลุ่มข้าราชการโดย
ื้
กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้จัดท า ผ้าฝ้ายและผ้าทอพนเมืองคุณสมบัติพเศษด้านนาโน
ิ
ื้