Page 41 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 41
๓๕
34
ผลการวิจัย
การศึกษาวิจัยเรื่อง กระบวนการสร้างนวัตกรรมชุมชน กรณีศึกษาการผลิตผ้าฝ้ายนาโน
บ้านหนองเงือก ต าบลแม่แรง อ าเภอป่าซาง จังหวัดล าพูน สรุปผลการศึกษา ดังนี้
1. ความเป็นมาของนวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโน เกิดจากคนในชุมชนบ้านหนองเงือกส่วนใหญ่มีอาชีพ
ทอผ้าตั้งแต่ดั้งเดิม โดยเริ่มจากการทอผ้าฝ้ายใช้เองภายในครอบครัว ในอดีตผ้าทอเป็นที่ต้องการของตลาด
จึงท าให้เกิดการรวมกลุ่มผ้าฝ้าย ในปี พ.ศ. 2556 สมาชิกแรกเริ่ม จ านวน 17 คน หลังจากจัดตั้งกลุ่มแล้ว
หน่วยงานภาครัฐได้เข้ามาดูแลและให้ค าแนะน า ท าให้กลุ่มสามารถผลิตสินค้าขึ้นเองได้ ในเวลาต่อมาส านักงาน
ั
พฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้น าเทคโนโลยีนาโนประยุกต์ใช้กับการทอผ้าฝ้าย
เพื่อแกไขปัญหาและจุดด้อยของผ้าฝ้าย เพื่อให้ผ้าฝ้ายให้มีความนุ่มลื่น มีกลิ่นหอม ต้านแบคทีเรีย ต้านยูวี และ
้
สะท้อนน้ า (น้ าไม่สามารถซึมผ่านได้ แต่อากาศซึมผ่านได้) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้สามารถน ามาใส่ในผืนผ้า
เดียวกันได้ จึงท าให้ผ้าฝ้ายทอมือมีความนุ่มลื่น มีกลิ่นหอม ต้านแบคทีเรีย ต้านรังสียูวี และสะท้อนน้ า
ภาพที่ 1 แสดงกระบวนการทอผ้านาโน
2. กระบวนการสร้างนวัตกรรมผ้าฝ้ายนาโนจะใช้กรรมวิธีการทอมือโดยแจกจ่ายให้สมาชิกของกลุ่ม
ไปทอ โดยทางร้านมาลีผ้าฝ้ายจะเป็นผู้รวบรวมและน าส่งไปเคลือบ ณ ศูนย์ส านักงานพฒนาวิทยาศาสตร์และ
ั
ุ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยจะสั่งอปกรณ์ในการทอผ้า เช่น กี่โบราณ เส้นฝ้าย หลอดฝ้าย กระสวย
และ ฯลฯ จากร้านค้าทั่วไป ตลาด และห้างสรรพสินค้า ขั้นตอนกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายนาโนมีกระบวนการ
ผลิตจากชุมชน ในลักษณะการทอมือ หลังจากการทอเสร็จจะน าผ้าที่ได้ส่งเคลือบที่ศูนย์ส านักงานพฒนา
ั
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยระยะเวลาในการทอจะขึ้นอยู่กับก าลังในการทอของผู้ทอ
ประมาณวันละ 3 – 4 เมตร หากเป็นผ้ายกดอกจะใช้ระยะเวลามากกว่า ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความช านาญของผู้ทอ
โดยเน้นการทอด้วยมือ หลังจากทอเสร็จเรียบร้อย ซึ่งทางร้านมาลีผ้าฝ้ายจะเน้นการผลิตผ้าทอแฮนด์เมด และ
มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในส่วนของการเคลือบนาโนเท่านั้น