Page 46 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 46
๔๐
39
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์
ั
1. ควรมีการศึกษาแนวทางในการพฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายในการออกแบบ
มากยิ่งขึ้น อาทิ การหาแรงบันดาลใจใหม่ ๆ เกี่ยวกับลวดลาย การหาแนวคิดที่เข้าสู่การออกแบบให้ทันกับ
ยุคสมัย เป็นต้น
2. ควรมีการจัดกิจกรรมให้เยาวชนและคนรุ่นใหม่ในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในด้านการสร้าง
ความคิดสร้างสรรค์และสานต่อผ้าฝ้ายเพื่อไม่ให้สูญหาย และสามารถสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไปในอนาคต
ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาภูมิปัญญาพนบ้านในการผลิตผ้าในรูปแบบอนที่มีความหลากหลายยิ่งขึ้น
ื่
ื้
ั
ื่
เพอน ามาเปรียบเทียบกับงานวิจัยของตน และสามารถน าไปพฒนางานวิจัยในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น
2. ควรมีการศึกษาผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจผ้าฝ้ายนาโน และศึกษาความพงพอใจของลูกค้า
ึ
ที่มีต่อการซื้อสินค้าผ้ายนาโนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
บรรณานุกรม
ั
ื่
ื่
ิ่
จุรีวรรณ จันพลา และคนอน ๆ. (2554). การพฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยทรงค าเพอสร้างมูลค่าเพม
ตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
ทาริกา สระทองค า และคณะ. (2565). รูปแบบการพฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ตอบสนอง
ั
ความต้องการลูกค้าในยุคอนาคต. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
8(1). 239 – 250.
ั
ทรงคุณ จันทจร. (2558). การพฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ในการผลิตและออกแบบผ้าไหมหมักโคลน
เพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ของชุมชนในภาคอีสาน. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
ุ่
มติชนออนไลน์. (2562). “ล าพน” ดัชนีความสุขพงแรง หลัง “สวทช.” หนุนผลิตผ้าทอล้านนานาโน.
ู
สืบค้นจาก www.matichon.co.th
ศศิธร โนนสังข์ และ สุดาพร ตังควณิช. (2555). การพฒนาสมบัติของเส้นไหมด้วยนาโนซิงค์ออกไซด์ย้อม
ั
ด้วยสีธรรมชาติแบบผงจากใบสาบเสือ. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ุ
สแปนเด็กซ์ (2561). สแปนเด็กซ์ (spandex) เส้นใยปฏิบัติอตสาหกรรมทอผ้าของโลก. สืบค้นจาก
https://sapendax.maggang.com
สุดกมล ลาโสภา. (2560). การดัดแปรผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติด้วยไคโตซาน ซิงค์ออกไซด์และซิลเวอร์อนุภาค
นาโนโดยใช้วิธีทางเคมีสีเชียว. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สุดาพร ตังควณิช. (2561). ผ้าฝ้ายนาโนคาร์บอนและไทเทเนียมไดออกไซด์ย้อมด้วยสีจากเปลือกหอมแดง.
J of Ind. Tech URRU. 8(1). 63 – 73.