Page 45 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 45

๓๙
                                                                                                              38


                                                                 ิ่
                                                                                                  ื่
               ให้คณะรัฐมนตรีใช้สวม ซึ่งเป็นนโยบายส่งเสริมและเพมมูลค่าสิ่งทอด้วยนาโนเทคโนโลยีเพอรองรับ
                                    ั
               การแข่งขันเสรี โดยได้พฒนาแนวทางในการน านาโนเทคโนโลยีมาเพมมูลค่าสิ่งทอโดยเฉพาะผ้าฝ้ายและ
                                                                           ิ่
               ผ้าทอพนเมือง เกิดกระบวนการตกแต่งผ้าให้มีคุณสมบัติที่แตกต่างทั้ง ลดการยับการเพมความนุ่มนวล
                      ื้
                                                                                            ิ่
               ตลอดจนการคืนตัวของผ้าท าให้ดูแลรักษาง่าย เพมคุณสมบัติสะท้อนน้ าและต้านเชื้อแบคทีเรีย
                                                               ิ่
                                                                          ิ่
                             ั
               ท าให้ไม่เหม็นอบและลดความจ าเป็นในการซัก รวมไปถึงการเพมกลิ่นหอมด้วยเทคโนโลยีควบคุม
               การปล่อยกลิ่นให้หอมติดทน

                       ส าหรับการส่งเสริมและต่อยอดด้านการตลาดที่มีต่อผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายนาโน โดยได้มีการพฒนา
                                                                                                     ั
                                                                         ื่
               รูปแบบใหม่ ๆ ด้วยการน าลวดลายดั้งเดิมของชุมชนมาทอใหม่เพอให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่ม เช่น
                                                                 ื่
                                                                     ิ่
               ลายดอกบัวเครือ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของบ้านหนองเงือกเพอเพมเอกลักษณ์และสามารถดึงดูดความสนใจ
               จากลูกค้า โดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผ้าฝ้ายทอมือ – ผ้าฝ้ายนาโน บ้านหนองเงือก มุ่งพัฒนาลวดลาย
               สี และคุณภาพสินค้าจากเดิม เนื่องจากผ้านาโนส่วนใหญ่จะเป็นสีพนไม่ค่อยมีลวดลาย สอดคล้องกับแนวคิด
                                                                        ื้
                    ั
                                                                  ้
               การพฒนาผลิตภัณฑ์ของ (Mccathy & Pereault, 1991 อางถึงใน ทาริกา สระทองค า 2565) กล่าวถึง
                                                     ั
                                                                                                  ื่
               ผลิตภัณฑ์ใหม่ (New product) คือ การพฒนาผลิตภัณฑ์จะต้องมีผลให้ผู้บริโภคหรือลูกค้าเพอให้เกิด
                                                                                        ิ่
                                                                              ึ
               ความพงพอใจในตัวผลิตภัณฑ์สินค้าให้มากที่สุด กล่าวคือ ควรมีความพงพอใจที่เพมขึ้นจากการบริโภค
                      ึ
               ผลิตภัณฑ์สินค้าชนิดเดิม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ท าให้มีผลิตภัณฑ์สินค้าใหม่ ๆ
               ในตลาดจ านวนมากที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและไปเร็ว ดังนั้น วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์จึงสั้นลง ดังนั้น ผลิตภัณฑ์

               ที่ออกสู่ตลาดใหม่และที่คงอยู่ในตลาดได้ จึงต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี “ความใหม่” และแตกต่าง สอดคล้องกับ

               ทรงคุณ จันทจร (2558) งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับการพฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ในการผลิตและออกแบบ
                                                             ั
                                ื่
               ผ้าไหมหมักโคลนเพอเพมมูลค่าเชิงพาณิชย์ของชุมชนในภาคอีสาน กล่าวว่าจากการระดมแนวคิดในการพฒนา
                                   ิ่
                                                                                                     ั
                                                                                   ั
                                                                                                    ื้
               ผลิตภัณฑ์อาศัยทุนทางวัฒนธรรม โดยชุมชนที่สามารถผลิตได้จริง คือ ต้องการพฒนาผลิตภัณฑ์บนพนฐาน
               ภูมิปัญญา ผลิตภัณฑ์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความทันสมัย จัดวางโทนสีให้มีความหลากหลาย และ
               เหมาะส าหรับทุกเพศทุกวัย สอดคล้องกับจุรีวรรณ จันพลา (2554) กล่าวว่าจากการศึกษาเรื่องการพฒนา
                                                                                                     ั
                                                                                                  ์
                                                         ั
               รูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยทรงด า กล่าวว่า การพฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอจะต้องหาเอกลักษณที่โดดเด่น
               ทั้งเรื่องสีสัน และลวดลาย โดยลวดลายของผ้าทอที่ปรากฏบนผืนผ้าจะต้องสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความคิด

                                              ั
               ความเชื่อ ค่านิยม และความผูกพน ตลอดจนความเป็นมาของวัฒนธรรม หรือเหตุการณ์ที่ส าคัญ ๆ
               ทางประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีความส าคัญต่อวิถีการด ารงชีวิต และน าสิ่งเหล่านั้นมาถ่ายทอดเป็นลวดลาย
                                                          ั
               บนผ้าทอ และจะต้องมีการปรับประยุกต์เพื่อให้เข้ากบสมัยปัจจุบันมากขึ้น
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50