Page 69 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 69
๖๓
62
ิ
ิ
ั
ื้
เผยแพร่องค์ความรู้ 6) ภูมิปัญญาสร้างสรรค์ 7) การพฒนาสังคม 8) การจัดการพพธภัณฑ์พนถิ่น
9) การแพทย์และสมุนไพร และ 10) อื่น ๆ เช่น ศาสนพิธี การจัดการพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่น เป็นต้น
ื่
2. การศึกษาความต้องการของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา เพอเป็นข้อมูลในการจัดท า
ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ซึ่งได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกเพชรราชภัฏ –
เพชรล้านนา จ านวน 33 คน โดยมีผลการศึกษา ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ความต้องการของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ในระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ –
เพชรล้านนา (n = 33)
ล าดับที่ ความต้องการ จ านวน ร้อยละ
1 น าเสนอข้อมูลประวัติและผลงานของเพชรราชภัฏ – เพชร 33 100
ล้านนา
2 การน าเสนอควรมีทั้งข้อมูลและภาพ 33 100
33
3 ควรมีข้อมูลประวัติ การศึกษา การเรียนรู้ ผลงานสร้างสรรค์ 100
การเผยแพร่ผลงาน รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ ทักษะและ
เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน
4 ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา จะเป็นสื่อการ 33 100
เรียนรู้ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และผู้บริหารท้องถิ่น
ั
ื่
สามารถน าข้อมูลดังกล่าวไปวางแผนการด าเนินงานเพอพฒนา
ชุมชนชองตน ตลอดจนการการพฒนาต่อยอดองค์ความรู้ด้วย
ั
การเพมมูลค่า และรักษาไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน
ิ่
อย่างยั่งยืน
5 ควรมีคู่มือการใช้งานระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชร 32 97
ล้านนา
6 ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ท าให้การเผยแพร่ 31 94
ผลงานเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนาให้แพร่หลายในวงกว้าง
อีกทั้ง ท าให้ผู้สนใจเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว