Page 66 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 66

๖๐
         59





                     Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถถ่ายทอดได้ เช่น สูตรทางวิทยาศาสตร์ คู่มือ ฐานข้อมูล ทฤษฎี
                     การแก้ปัญหา ฯลฯ ซึ่งสามารถน ามาประยุกต์ร่วมกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 2) ความรู้ที่อยู่


                     ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือสัญชาตญาณ
                                                                             ื่
                                                                                                   ุ
                     ของแต่ละบุคคล เป็นความรู้เฉพาะตัวยากที่จะถ่ายทอดให้กับผู้อนได้ง่าย เช่น ความเชื่อ อดมคติ
                     คุณค่า ทักษะการท างาน งานฝีมือ ฯลฯ โดยองค์ความรู้ของปราชญ์ท้องถิ่นจะเป็นองค์ความรู้

                     ที่อยู่ในตัวบุคคล ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดย ส านักศิลปะและวัฒนธรรม จึงได้ด าเนินการในโครงการ

                                                  ื่
                                                                                ื้
                     “เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา” เพอสรรหาและคัดเลือกครูภูมิปัญญาพนบ้านล้านนาเพอเชิดชูเกียรติ
                                                                                             ื่
                     เป็น “เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา” โดยมุ่งหวังให้เกิดการอนุรักษ์ ฟนฟ ประยุกต์ และสร้างใหม่
                                                                                    ู
                                                                                 ื้
                     เพอให้องค์ความรู้ของชุมชนไม่สูญหายไปจากชุมชน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมทรงคุณค่าของชุมชน
                       ื่
                     ที่จะให้เกิดคุณค่าและมูลค่ากับชุมชน อกทั้ง เป็นการน าองค์ความรู้จากชุมชนเข้าสู่ห้องเรียนผ่าน
                                                       ี
                     ครูภูมิปัญญาและปราชญ์ชาวบ้านที่ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา” (ปนัดดา

                     โตค านุช, 2560) จากการด าเนินโครงการดังกล่าว พบว่า เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ส่วนใหญ่

                     เป็นผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 80 และไม่มีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ

                     ซึ่งอาจจะท าให้องค์ความรู้สูญหายไปกับผู้สูงอายุได้ (ปิยะนุช เรืองโพน, 2564)

                            ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพฒนาระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา
                                                           ั
                     ด้วยการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ฝังในผู้สูงอายุมาสู่ความรู้ที่แจ้งชัด ทั้งนี้ เพอให้หน่วยงานมีคลังความรู้
                                                                                  ื่
                     ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสนับสนุนการศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย อันน าไปสู่การสร้าง

                     คุณค่าและมูลค่า ดังพันธกิจของหน่วยงาน “เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลทาง

                     ศิลปวัฒนธรรมล้านนา และเอกสารโบราณ” ที่สนับสนุนและส่งเสริมการเป็นแหล่งเรียนรู้เชิง

                                                                         ื่
                     วัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย และจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนเพอเผยแพร่องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
                     ให้แพร่หลายในวงกว้างอ้นจะน าไปสู่ความภาคภูมิใจในตนเอง การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม

                     ของชุมชน การพัฒนาและการต่อยอดองค์ความรู้ด้วยการบูรณาการผลลัพธ์และผสานให้เกิด

                     ประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน



                     วัตถุประสงค์ของการวิจัย

                            1.  เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา

                            2.  เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพชรราชภัฎ – เพชรล้านนา
                            3.  เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71