Page 65 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 65

๕๙
                                                                                                              58





                            ไพพรรณ  เกียรติโชคชัย (2545) สรุปความส าคัญของภูมิปัญญาชาวบ้าน ดังนี้
                            1. ภูมิปัญญาชาวบ้านนับเป็นรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยที่ถ่ายทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน


                     และเป็นมรดกไทยที่คนไทยทุกวันนี้ภาคภูมิใจ
                            2. ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา


                                                      ้
                     “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” ช่วยให้ชาวไทยพนวิกฤติต่าง ๆ ด้วยการใช้ปัญญา ความสามารถ และความคิด
                     สร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้ลุล่วงไปด้วยดีมาโดยตลอด

                            3. ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นองค์ความรู้ที่มีขอบเขตกว้างขวางและลึกซึ้งมาก ซึ่งครอบคลุม

                     คตินิยม ความรู้ ความสันทัด การรู้เท่าทันธรรมชาติของสรรพสิ่งรอบตัว การเลือกเฟนความคิดและ
                                                                                            ้
                     วิธีการมาใช้ในชีวิตประจ าวัน

                                                                                ี
                            4. การเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอกรุ่นหนึ่ง และจากชุมชนหนึ่ง
                     สู่อีกชุมชนหนึ่งอย่างไม่ขาดสาย

                            5. ภูมิปัญญาชาวบ้านล้วนแต่เป็นการศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้แบบเชิงประจักษ์จากปัญหา

                     ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเสมอในการด าเนินชีวิตประจ าวัน มีการทดสอบจากประสบการณ์จริงจนกว่าจะหา

                     ข้อสรุปที่ชัดเจนและสืบทอดต่อกันไป

                                                                                        ั
                             6. การถ่ายทอดความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และการปฏิสัมพนธ์ในรูปแบบต่าง ๆ
                     ที่หลากหลายสาขาผสมผสานกัน นับว่าภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นการเรียนรู้แบบองค์รวมที่ปัจจุบัน

                     เรียกว่า การเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning)

                                                                                  ี
                              7. วิธีการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอกรุ่นหนึ่ง ด้วยการท าให้ดู
                     ให้ลงมือท า และเลียนแบบอย่างที่ดีของภูมิปัญญาชาวบ้านที่ยึดถือปฏิบัติมา


                            จะเห็นได้ว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นมรดกทางความคิดที่บรรพบุรุษได้คิดขึ้นมา โดยใช้
                     ความคิด และการกระท าในการด าเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพ พธีกรรม ขนบธรรมเนียม
                                                                                     ิ
                     ประเพณี ศิลปะการแสดง ฯลฯ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ในชุมชนที่ได้รับการอนุรักษ์ สืบสาน และถ่ายทอด

                     โดยปราชญ์ท้องถิ่น ซึ่งเป็นเจ้าของภูมิปัญญา และน าภูมิปัญญาดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ในการด ารงชีวิต

                     จนประสบผลส าเร็จ สามารถถ่ายทอดและเชื่อมโยงคุณค่าของอดีตกับปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม

                                                 ุ
                     (องค์การบริหารส่วนต าบลดินอดม, 2560) ซึ่งภูมิปัญญาดังกล่าวล้วนแต่เป็นมรดกทางความคิด

                     ที่ไม่สามารถตีมูลค่าออกมาเป็นตัวเงินได้ และเป็นที่น่าเสียดายว่าปัจจุบันภูมิปัญญาชาวบ้านเหล่านี้
                     คงเหลือให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและเรียนรู้น้อยมาก (ประมวล พมพเสน, 2554) Nonaka & Takeuchi
                                                                         ิ
                                                                            ์
                       ้
                     (อางใน ชวลิต คงแก้ว, 2560) แบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ความรู้ที่แจ้งชัด (Explicit
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70