Page 68 - หนังสือรวมบทความ 2566
P. 68

๖๒
         61





                                              ิ
                                        ื
                                   เครื่องมอที่ใช้วจัย : ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ด้วยการศึกษา
                     ประสิทธิภาพ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการท างาน ด้านความง่ายต่อการใช้งาน ด้านประสิทธิภาพ และ

                     ด้านความปลอดภัย รวมถึง จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะ ด้วยแบบประเมินประสิทธิภาพ

                     ระบบสารสนเทศ


                            ขั้นตอนที่ 3 การเผยแพร่ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา

                                  ผู้วิจัยได้ด าเนินการเผยแพร่ระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา ด้วยการน าไป

                     ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง

                                   ผู้ให้ข้อมล : นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จ านวน 100 คน ด้วยการเลือก
                                        ู
                     แบบสุ่ม

                                               ิ
                                        ื
                                   เครื่องมอที่ใช้วจัย : แบบประเมินผลความพงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศ
                                                                          ึ
                     เพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา

                            สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

                               1. การวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ –

                     เพชรล้านนา ค่าสถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                     (Standard Deviation)

                                                                     ึ
                                2. การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความพงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ –
                     เพชรล้านนา ค่าสถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                     (Standard Deviation)

                               3. น าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตารางประกอบค าบรรยาย ตลอดจนการวิเคราะห์

                     เนื้อหา (content analysis) และการน าเสนอในลักษณะการพรรณาความ


                     ผลการวิจัย

                            1. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา
                                                                                               ื่
                                1.  การศึกษาและวิเคราะห์องค์ความรู้ของเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา เพอน าไปจัดท า
                     ฐานข้อมูล ส าหรับระบบสารสนเทศเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา พบว่า องค์ความรู้ของ เพชรราชภัฏ –

                     เพชรล้านนา เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) โดยพจารณาจากสาขาและด้านของ
                                                                                ิ
                     เพชรราชภัฎ – เพชรล้านนา จ านวน 210 คน สามารถแบ่งองค์ความรู้ออกเป็น 10 ประเภท ได้แก่

                     1) ภาษา 2) การขับขานเพลงซอ 3) ดนตรีและนาฏศิลป์ 4) ภูมิปัญญาเชิงช่าง 5) การส่งเสริมและ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73