Page 60 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 60
๕๔
ประวัติกำรท ำงำน
พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๖ เจ้าหน้าที่ศิลปกรรมและออกแบบ โรงแรมดาราเทวี จังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๔๕ – ปัจจุบัน ครูภูมิปัญญาล้านนา โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๔๙ – ปัจจุบัน ศิลปินอิสระ Saran Gallery จังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาศิลปกรรม วิชาศิลปะไทยพื้นฐาน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๔ อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาศิลปกรรม วิชาการวาดเส้นทางทัศนศิลป์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
้
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ปัจจุบัน ประธานกิตติมศักดิ์สมาคมฟอนเจิงแห่งประเทศญี่ปุ่น
สมาคมฟ้อนเจิงแห่งประเทศญี่ปุ่น กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปัจจุบัน ผู้ประสานงานเครือจ่ายยุทธศิลป์ล้านนา
โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา จังหวัดเชียงใหม่
ประธานส านักภูมิปัญญาบ้านสล่าเจิงล้านนา
ส านักภูมิปัญญาบ้านสล่าเจิงล้านนา จังหวัดเชียงใหม่
ประวัติกำรเรียนรู้ ทักษะ และเทคนิคในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
ั
หากจะสืบเสาะค้นหาประวัติศาสตร์ของการฟอนเจิงอย่างเป็นลายลักษณ์อกษรแล้ว แทบจะมีหลักฐาน
้
ทางต าราน้อยชิ้น เพราะเจิงเป็นศาสตร์และศิลป์สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ด้วยมือต่อมือ ปากต่อปาก กลมกลืนดั่งวิถีชีวิต
้
ของชาวล้านนาสมัยก่อน ดังค ากล่าวว่า “ลูกป้อจาย ต้องมีเจิง” ไม่ว่าจะฟอนเจิงด้วยมือเปล่า ร่ายร าท่วงท่าลีลา
ตามแม่ลายฟอน สลับกับตบมะผาบให้ดังตามร่างกาย ข่มขวัญ หยอกเย้าผู้ต่อสู้ ไต่ระดับขึ้นอกขั้นเป็นเจิงอาวุธ
้
ี
เจิงดาบ และเจิงง้าว วิชานักรบที่อดีตเคยใช้ปกป้องบ้านเมือง มีเกียรติและศักดิ์ศรี กลับเสื่อมความนิยมลงตามยุคสมัย
สล่าเจิงล้านนาเริ่มลดหาย บ้างท ามาหากินเปลี่ยนเป็นอาชีพที่มั่นคง หาเลี้ยงตัวและครอบครัวได้ แต่เวียงเจียงใหม่
แห่งนี้ยังมีป้อจายคนหนึ่งที่ลุกขึ้นมาสานต่อและสืบสอดวัฒนธรรมภูมิปัญญา นั่นคือ ครูนิก ศรัณย์ สุวรรณโชติ
ิ
สล่าเจิงล้านนา ผู้ขับเคลื่อนศลปะแห่งต านานให้กลับมามีชีวิตชีวาอกครั้ง ด้วยประสบการณ์เรียนรู้ เผยแพร่ศาสตร์
ี
และศิลป์ เป็นเวลากว่า ๒๗ ปี