Page 63 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 63

๕๗



                       นายศรัณ  สุวรรณโชติ ได้ค้นพบเคล็ดวิชาซึ่งเป็นสิ่งที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ไว้ และเป็นทักษะขั้นสูง


               ที่ท าได้ยากแต่ทุกคนสามารถทาได้เมื่อฝึกตามขั้นตอน ซึ่งไม่ใช่เคล็ดวิชาที่จะปิดบัง โดยนายศรัณ จะอธิบายทุกครั้ง
               ที่สอนตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน เพื่อปูพื้นให้เข้าใจหลักการที่มีประสิทธิภาพในชั้นต่อ ๆ ไป ได้แก่ เคล็ดวิชาธาตุดิน น้ า และ

               ลม ดังนี้

                       "เคล็ดลับวิชาธาตุดิน" พลังดินสู่ดิน ให้พลังจากดินแล่นผ่านนิ้วหัวแม่เท้าสู่ระบบฐานขาขึ้นสู่แกนกลาง

                                                                                            ื้
               บริเวณท้องน้อยส่งเป็นแรงบิดพงไปยังจุดที่ปล่อยพลังออกไปแล้วให้ม้วนพลังงานกลับสู่พนดินในเส้นทางเดิม
                                           ุ่
               ความรู้สึกในสัมผัสกายและจิตให้เหมือนมีพลังแม่เหล็กไฟฟ้าดึงดูดและผลักดันออกบริเวณฝ่าเท้า จุดสัมผัสที่ฝ่าเท้า

               มี ๔ ส่วน คือ นิ้วเท้า จมูกเท้า ส้นเท้า และสันฝ่าเท้า จุดหมุนอยู่ที่จมูกเท้าและส้นเท้า การยึดเกาะให้ถ่ายเท

               หมุนเวียนทั้งสี่ส่วน ให้ผืนดินเป็นแม่ขณะที่ตัวเราผนึกแน่นเป็นหนึ่งเดียว การฝึกขั้นพนฐานให้ใช้ท่าเขยาะขา
                                                                                         ื้
               สปริงข้อเท้า การฝึกที่เทียบเคียง ได้แก่ การกระโดดเชือกและการวิ่ง แต่การฝึกในขั้นสูงต้องอาศัยการอธิบาย

                         ่
                     ี
               ที่ละเอยดออนกว่านี้ ประโยชน์การฝึกท าให้ฐานมีความเหนียวแน่นและทรงพลัง เคลื่อนไหวได้อย่างมั่นคง
               ไม่เสียหลักได้ง่าย การออกอาวุธหนักแน่นแม่นย ารวดเร็วรุนแรง การฝึกควบคู่กับการหายใจอย่างมีสติและ

               สม่ าเสมอจะให้ผลดีอย่างยิ่งยวด

                                                                                     ื้
                       "เคล็ดลับวิชาธาตุน้ า" เคลื่อนกายและจิตด้วยธาตุน้ า ให้ธาตุน้ าสัมพนธ์กับพนที่และเวลา การเคลื่อนกาย
                                                                               ั
               และจิตด้วยธาตุน ้า หมายถึง การสร้างพลังงานดุจดั่งกระแสมวลน้ าโดยให้ก าหนดจิตเป็นดั่งน้ า ตัวเรา คือ สายน้ า

               ตัวเรา คือ วัตถุในน้ า ตัวเรา คือ สิ่งประคองสายน้ า เป็นต้น มีน้ าที่ไหลวน ไหลเออย ไหลเชี่ยว ฯลฯ ท่วงท่าลีลา
                                                                                   ื่
               ถูกเปรียบเปรยกับท่วงท านองขับขาน เช่น มะนาวล่องของ (มะนาวไหลตามน้ าโขง) น้ าตกตาด (น้ าตกลงผาหิน)

               น้ าดั้นท่อ (น้ าทะลวงออกปากท่อ) น้ าเลอต้ง (น้ าเออทุ่ง) เป็นต้น โดยนายศรัณ จะฝึกก าหนดให้จิตล่องลอย
                                                            ่
               ในผืนน้ าเสมือนตัวเองจมอยู่ใต้ท้องมหาสมุทร รับรู้ถึงพลังที่มวลน้ าบีบกดร่างกาย การปิดกั้นทวารทั้งหมด

                                                ่
               แล้วค่อยเคลื่อนตัวโดยอสระ ในความออนไหวบังเกิดแรงต้านทานที่เรียกว่า ก าลังภายใน คือ ภายนอกดูนุ่มนวล
                                    ิ
               แต่รับรู้ถึงพละก าลัง หากสัมผัสร่างกายจะเข้าใจชัดเจนว่ามีก าลังขับเคลื่อนอยู่ไม่ออนแรง แต่ข้อระวัง คือ
                                                                                        ่
               ไม่ใช่การขืนเกร็ง แต่ต้องผ่อนคลายอย่างที่สุด อย่างไรก็ตามเมื่อฝึกฝนย่อมต้องผ่านอาการเกร็งจนเมื่อยล้าไปก่อน

               จนกว่ากายกับจิตจะผสานเป็นหนึ่งเดียว เมื่อจิตเราช านาญแล้ว กายเราฝึกดีแล้ว จะพบอสรภาพแห่ง
                                                                                                  ิ
                                                                                           ่
               การเคลื่อนไหวที่งามนอกงามในและใช้ถูกช่องที่มหาศาล พลังน้ าอ่อนโยนโอบอุ้ม แม้เพียงเพงดูผิวน้ าก็บ าบัดรักษา
               ใจได้ เมื่อมองดูผู้เคลื่อนไหวด้วยพลังแห่งธาตุน้ าก็สัมผัสสภาวะนั้นได้เฉกเช่นกัน พลังน้ าที่เกรี้ยวกราด

               ก็น่าสะพรึงกลัวยากต้านทาน หากฝึกใช้ให้ช านาญและถูกช่องทางย่อมเป็นคุณ การเคลื่อนกายและจิต
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68