Page 62 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 62

๕๖



                                                                                         ่
                               ั
               และเจิงสาวไหมอนลือชื่อ จากนั้นอกหลายปีต่อมา นายศรัณ ได้ฝากตัวเป็นศิษย์พอครูน้อยทอง วงศ์สวย
                                               ี
                                                           ่
               แห่งบ้านสันโป่ง อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งพอครูน้อยทองได้ร่ าเรียนเจิงจากผู้เป็นบิดาที่สืบสายลายเจิง

               อนแข็งแกร่งและองอาจ สายเหนือของเชียงใหม่ นอกจากนั้นยังมีโอกาสได้รับการสั่งสอน และค าแนะน าจาก
                 ั
                            ี
               ผู้รู้และครูเจิงอกหลายท่านที่ได้ให้ความรู้ด้วยความเมตตา เช่น ครูโอ พรชัย  ตุ้ยดง ผู้เชี่ยวชาญลายลื้อและศาสตราวุธ
               ล้านนา พ.อ.(พิเศษ) อ านาจ  พุกศรีสุข แห่งมวยไทยนวรัช เป็นต้น
                                                                                                   ่
                     ปัจจุบัน นายศรัณ  สุวรรณโชติ ยังคงศึกษาวิชาเจิงอย่างต่อเนื่อง โดยฝากตัวเป็นศิษย์พอครูทรงชัย
               สมปรารถนา เจ้าส านักดาบอารียเมตต์หริภุญไชยฯ อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และเพชรราชภัฏ – เพชรล้านนา
                                                                     ั
                                                             ้
               ประจ าปี ๒๕๖๔ สาขาศิลปะ ด้านการแสดง (เจิงฟอน เจิงฟน)  ซึ่งจะเน้นไปในทางการต่อสู้อาวุธโบราณ
               เน้นทางการใช้งานและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นต้นมา

                     ห้าปีแรกที่นายศรัณ ได้ฝึกฝนเจิง เรียนรู้แม่ลาย ท่าเดิน และท่าตบมะผาบต่าง ๆ เมื่อฝึกจนคล่องแคล่ว
                                                                                              ั
               ครบสิบปีเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างเป็นธรรมชาติมากขึ้น หลังจากนั้นเป็นต้นมาได้พฒนาและต่อยอด
               องค์ความรู้ด้วยการคิดท่าทางใหม่ ๆ ด้วยตนเอง ในวันที่ ๔ กรกฏาคม ๒๕๕๙ นายศรัณได้เปิดส านักภูมิปัญญา
                                                                                     ื่
               บ้านสล่าเจิงล้านนา ด้วยการสอนลายเจิงให้เยาวชนไทยโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ เพอมุ่งหวังสืบสานและสืบทอด
               องค์ความรู้ลายเจิงให้กับเยาวชนคนรุ่นใหม่และผู้ที่สนใจ โดยนายศรัณ มีหลักในการสอนเจิง ๓ ส่วน ส่วนแรก คือ

               ขุม เป็นแผนผังการเดินหรือยุทธวิธีการย่างก้าวที่ต้องฝึกตั้งแต่แรกเริ่ม ในอดีตถือกันว่าเป็นความลับขั้นสุดยอด
               ของสายวิชา จะให้ผู้ใดล่วงรู้ไม่ได้ โดยขุมจะมีต าแหน่งการเดินต่าง ๆ เป็นแผนผัง ตั้งแต่หนึ่งขุมเรื่อยไปจนถึง

               ๓๒ ขุม โดยแต่ละสายวิชาก็จะมีแบบแผนเป็นของตัวเอง และแต่ละขุมก็จะมีระดับชั้นของตัวเอง ส่วนที่สอง คือ

               ตบมะผาบ คือ การท าเสียงเลียนแบบประทัด ผาบ ในภาษาเหนือ หมายถึง ปราบ ดังนั้น การออกเสียงมะผาบ
               จึงเป็นการท าให้ดูน่าเกรงขาม และข่มขู่คู่ต่อสู้ ด้วยการตบไปตามเนื้อตัวให้เกิดเสียงดัง และท่วงท่าต้องดูสง่างาม

               คล่องแคล่วว่องไว ขณะที่ตบไปตามเนื้อตัวก็จะกล่าวค าไหว้ครูไปด้วย เสมือนเป็นการไล่ลม กระตุ้นกล้ามเนื้อ และ
               เส้นเอนต่าง ๆ ให้เข้าที่เข้าทางก่อนจะต่อสู้ หากเป็นสมัยก่อนคนมีวิชาอยู่ยงคงกระพนจะเป็นเหมือนการร่าย
                     ็
                                                                                        ั
               เวทมนตร์และคาถาไปตามเนื้อตัว และส่วนที่สาม คือ แม่ไม้ลายเจิง ท่าทางหรือกระบวนการต่อสู้ต่าง ๆ

               ซึ่งมีหลากหลายท่า เช่น ท่าบิดบัวบาน ท่าสาง ท่าเกี้ยวเกล้า ท่าเสือลากหาง ท่าหมอกมุงเมือง ทั้งนี้แต่ละครู
               ก็จะพลิกแพลงแตกต่างกันไป ทว่าในสายเจิงของชาวล้านนาแล้วจะมีบางท่าที่ละม้ายคล้ายคลึงกันหรืออาจใช้

               ร่วมกันได้ก็มี ส าหรับท่าแม่ไม้ลายเจิงที่ถือว่าเป็นท่ามาตรฐาน คือ ท่าบิดบัวบานกับท่าเกี้ยวเกล้า ซึ่งทั้งสองท่า
               จะเป็นการบิดหมุนข้อมือและแขนให้มีลักษณะเป็น “บ้วง” หมายถึง การเคลื่อนไหวมือให้โค้งเป็นวงกลมเหมือน

               บ่วงบาศ พร้อมกับการก้าวย่างเท้าให้มั่นคง ไม่สะเปะสะปะหรือเรียกว่า “บาท” ความแตกต่างของสองท่านี้

                                                                          ี
               อยู่ที่ท่าเกี้ยวเกล้าจะบิดหมุนขยายตัวมากกว่าท่าบิดบัวบานที่กระท าเพยงข้อมือ แต่สิ่งที่เหมือนกัน คือ เป็นท่าที่มี
               ความสวยงาม อ่อนช้อย และยังเป็นเคล็ดวิชาชั้นสูงอีกด้วย
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67