Page 67 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 67
๖๑
ุ้
การสื่อความหมายที่เป็นมงคลนาม เช่น "เจิงนก กา ไก่ นกคม หงส์ รุ้ง ยูงค า" เป็นลีลาท่าทางการเยื้องย่างในแบบ
จ าพวกสัตว์ปีก อาทิ นกเขาเหิน กาจับหลัก กาตากปีก กาปีกหักหรือหงส์ปีกหัก เขยาะกา แม่ไก่ต้อนรัง ไก่ดีดตี
พญาหงส์เหิน รุ้ง (เหยี่ยว) เหินลม นกคุ้มบังภัย แม่ยูงค า เป็นต้น โดยปกตินายศรัณ จะใช้ท่าสัตว์ปีกอยู่มาก
้
ื่
แต่จะสลับกับท่าอน ๆ เช่น เสือ ช้าง ม้า เทพเทวดา ยักษ์ ลิง และอน ๆ ตามขนบการฟอนเจิงที่เน้นผสมผสาน
ื่
อนึ่ง เอกลักษณ์ของบ้านสล่าเจิงล้านนา (นายศรัณ สุวรรณโชติ) จะเน้นที่วงจรการเคลื่อนของท่า ไม่ใช่จังหวะหยุด
ความส าคัญอยู่ที่ "วง" จังหวะหยุดเป็นจุดต้น และจุดปลาย ความส าคัญอยู่ที่ "ระหว่างการเคลื่อนไป" อย่างถูกวงจร
ถูกระบบ และถูกกลไก การย่างขุมเป็นหัวใจของเจิง ในอดีตการย่างขุมถือเป็นความลับที่จะไม่บอกกัน ยามเรียน
ครูจะเขียนขุมแค่ครั้งเดียว ต้องฝึกวันเดียวให้เป็น หากจ าไม่ได้ครูก็ไม่สอนแล้ว ซึ่งขุมมีตั้งแต่ง่ายไปถึงซับซ้อน
ต้องเรียนรู้การจู่โจม การแก้ทาง เป็นกลยุทธ์ทิศทางย่างเดิน เอยวตัว คนที่ฝึกเจิงจนออกไปส าแดงได้ ต้องฝึก
ี้
ื่
ให้ช านาญจนกว่าขุมสลาย ถ้าไม่ช านาญแล้วออกไปส าแดง ก็เท่ากับเป็นการเปิดเผยขุมให้ส านักอนรู้ และทาให้เขา
จับทางเราได้ การฝึกขุมท าให้เราได้ก าลังขา แต่บางครั้งครูจะยื้อเวลาไว้เพื่อตรวจสอบว่าลูกศิษย์อดทนได้นานแค่ไหน
แต่ปัจจุบัน นายศรัณ ได้พลิกแพลงมากขึ้น ไม่ได้เน้นจะมาวัดใจ แต่เน้นเรื่องการเผยแพร่ ได้เรียนรู้ และ
ได้ใช้ประโยชน์ต่อไปมากกว่า
การเรียนวิชาฟอนเจิงในโฮงเฮยนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา แบ่งเป็น ๙ วิชา ๓ ระดับ มี ชั้นต้น ชั้นกลาง
ี
้
ชั้นสูง และมีวิชาอาวุธยาว มี ๔ วิชา วิชาไม้ค้อน ๑ วิชาไม้ค้อน ๒ เจิงหอก และเจิงง้าว (ไม้ค้อน แปลว่า ไม้พลอง)
้
ในหลักสูตรวิชาฟอนเจิง ยังมีเจิงมือเปล่า เป็นการต่อสู้ไม่เน้นความสวยงาม มีทั้งหมด ๙ วิชา แบ่งตามเทคนิค เช่น
ปัดป้อง ก้องกุม ยุ้มจัก เก่งข่ม ฯลฯ และเจิงอาวุธ เช่น เช่น เจิงดาบ เจิงไม้ค้อน เจิงหอก เจิ้งง้าว
เป็นต้น โดยมีผลงานเจิงที่นายศรัณ ผูกทาแล้วน ามาจัดท าเป็นหลักสูตร เพอสอนในหลักสูตรต่าง ๆ ของส านักภูมิ
่
ื่
ปัญญาบ้านสล่าเจิงล้านนา และโฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา ดังต่อไปนี้นี้
๑. กำรฟ้อนเจิงมอเปล่ำ
ื
้
ชื่อผลงำน: การฟอนเจิงมือเปล่า
้
แนวคิดเกี่ยวกับกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน: การฟอนเจิงมือเปล่าของส านักภูมิปัญญาบ้านสล่าเจิงล้านนา
มีรูปแบบพฒนาการจากฟอนเจิงโบราณที่สืบสายวิชาจาก “เจิงสาวไหม” ในสายพอครูน้อยค าปวน ค ามาแดง
ั
่
้
่
โดยสืบทอดจากพอครูหล้า ค าสุข ช่างสาร และครูธนชัย มณีวรรณ และผสมผสานกับสายวิชาที่สืบทอดจาก
่
พอครูค า พรหมวงศ์ และพอครูน้อยทอง วงศ์สรวย จนกลายเป็นกระบวนท่าเฉพาะของส านักภูมิปัญญา
่
บ้านสล่าเจิงล้านนาที่ใช้ในการเรียนการสอนมาจนถึงปัจจุบัน
้
เทคนิคและวิธีกำรที่ใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน: เริ่มจากการจัดหมวดหมู่ท่าฟอน จากท่าง่ายไปสู่ท่ายาก
แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ๙ ขั้น คือ ระดับพื้นฐาน ๑-๓ ระดับกลาง ๔-๕ และระดับสูง ๖-๙