Page 65 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 65
๕๙
ิ
ให้ระบบข้อต่อท างานอย่างอสระ ให้พลังลมเบาประคองการเคลื่อนไหว เมื่อแตะต้องสัมผัสตัวจะไม่รับรู้ถึง
แรงขัดขืน รูปแบบการต่อสู้ใช้การเบี่ยงเบนถ่ายเทแรงสลายแรงผ่อนก าลัง ซึ่งระบบข้อต่อมีส่วนอย่างมาก
ในการฝึกฝนด้วยธาตุลมนี้ สิ่งส าคัญ คือ ต้องฝึกควบคู่การควบคุมลมหายใจ ลักษณะลีลามีความออนช้อย
่
ล่องลอยเบาเหมือนเมฆหมอกห่มคลุมดอยไหลล่องไปตามกระแสลม เหมือนหมอกมุงเมือง เหมือนลมพดพร้าว
ั
เหมือนพร้าวไกวใบ เหมือนนกเขาเหิน เป็นต้น ส่วนใหญ่นายศรัณ จะใช้ในการฟอนเจิงสาวไหมซึ่งจะสลับใช้กับ
้
พลังงานจากธาตุน้ าด้วย วิธีการฝึกนี้จะท าให้จิตใจสงบนิ่งเยือกเย็นเบาสบายผ่อนคลาย มีอิสรภาพ จิตละเอียดและ
ประณีต การต่อสู้ให้ท่าทีประนีประนอม เว้นแต่ความประนีประนอมไม่ได้รับการสนองตอบ ก าลังของลมหลวง
ก็สามารถบิดโค่นถอนไม้ใหญ่ออกทั้งรากได้อย่างง่ายดายเช่นกัน
เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงาน นายศรัณ ใช้หลักการ "ฐานขามั่นคง วงแขนคลุมกาย ผ่อนคลาย
แกนกลาง" เรียกทฤษฎีนี้ว่า "การจัดระบบร่างกาย ๓ ส่วน" การจัดระบบระเบียบร่างกายในการฟอนเจิง
้
เป็นพนฐานส าคัญและเป็นทั้งหมดของศาสตร์ภูมิปัญญาด้านเจิง ก่อเกิดสุนทรียศาสตร์ที่ลึกซึ้งตามโบราณจารีตว่า
ื้
"เป๋นเจิงเป๋นลาย เป๋นบาทเป๋นบ้วง" ในการฝึกจะแบ่งระบบร่างกายเป็น ๓ ส่วนใหญ่ ดังนี้
ส่วนที่ ๑ : ฐาน คือ อวัยวะตั้งแต่ท้องน้อยลงไปถึงเท้า ต้องแข็งแรง แข็งแกร่ง คล่องตัว มั่นคง เคลื่อนที่
ได้อย่างอิสระ ขาไม่ตาย ฝึกโดยใช้ "ขุมเจิง" เป็นแม่แบบก่อนจะคลี่คลายสลายขุมออกไป
ส่วนที่ ๒ : วงแขน คือ อวัยวะช่วงแขนทั้งสองข้างซ้ายขวาและช่วงหน้าอกที่เชื่อมแขนทั้งสองเอาไว้
ต้องเป็นบ่วงหรือเป็นวงคลุมกาย แยกประสาทสัมผัสซ้ายขวาอย่างช่ าชองช านาญ ฝึกโดยใช้ "แม่ลายเจิง" ต่าง ๆ
ส่วนที่ ๓ : แกนกลาง คือ อวัยวะส่วนศีรษะลงมาถึงหัวหน่าว ต้องมั่นคงแข็งแรงแต่ผ่อนคลาย ยืดหยุ่น
มีอสระ ฝึกโดยการใช้แม่ลายประกอบขุม การฝึกเป็นแกนและจุดหมุนในการเอยวตัวบิดตัวจนสุด เรียกว่า
ี้
ิ
"สุดแหว็ด" และการโยกตัว ๘ ทิศ หรือการโยกตัวลักษณะวงกลม เป็นกระบวนการฝึกที่จะใส่ใจเป็นพเศษ
ิ
เมื่อส่วนที่ ๑ และ ๒ ผสานกันดีแล้ว
็
ั
การฝึกนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับการพฒนาระบบกล้ามเนื้อ กระดูก ข้อต่อ เส้นเอน และประสาทสัมผัส
ในระดับที่ผู้ฝึกรับรู้ได้ด้วยตนเอง เมื่อผู้ฝึกปฏิบัติการฝึกฝนมาโดยล าดับจะสามารถควบคุมร่างกายตั้งแต่วงจรใหญ่
กระทั่งวงจรที่ละเอยดขึ้น รวมถึงการแยกประสาทสร้างวงจรที่ซับซ้อนได้อย่างดี เรียกว่าเป็นพัฒนาการเชิงก้าวหน้า
ี
อย่างยิ่งยวด ประเด็นส าคัญ คือ การฝึกนี้มีผลท าให้สายตาของผู้ฝึกมความเฉียบแหลมคมและละเอียดเทียบเท่ากับ
ี
ั
ื่
พฒนาการของร่างกายและจิตใจ อาจกล่าวได้ว่าเป็นการฝึกเพอปรับลึกเข้าไปในจิตวิญญาณของแต่ละคน ทั้งนี้
มีเป้าประสงค์เพอการสั่งการหรือควบคุมร่างกายด้วยจิตที่ฝึกฝนมาอย่างดีไม่ใช่เพอความงามเพยงเท่านั้น
ี
ื่
ื่
กล่าวอย่างรวบยอด คือ "เป็นระบบที่ท าให้กายกับจิตเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั่นเอง"