Page 64 - เพชรราชภัฏ-เพชรล้านนา ประจำปี 2566
P. 64

๕๘



                                                                                           ่
               ด้วยพลังธาตุน้ าท าให้จิตใจสงบนิ่งเยือกเย็น เสถียร สมดุล การเคลื่อนไหวสุขุมทรงพลัง ออนช้อยงดงาม ระบบ
               ใช้งานการตอบสนองของร่างกายสามารถควบคุมเกาะกุมโน้มน้าวได้อย่างเลื่อนไหลมีประสิทธิภาพ

                       "เคล็ดวิชาธาตุลม” ใช้ลมเยี่ยงมิตร ให้ธาตุลมเหมือนดั่งผู้มาเยือนแล้วจากไป คนเราใช้ธาตุลมหรือ

                                      ื่
               อากาศธาตุในการหายใจเพอด ารงชีวิต หากขาดอากาศเพยงชั่วครู่ กู้คืนไม่ทันก็สิ้นชีพ ธาตุลมมีความแปรปรวน
                                                                ี
                                                                ิ
               และออนไหว หากร่างกายขาดสมดุลธาตุลมที่เป็นพษจะสร้างความทุกข์ทรมานแก่ร่างกายอย่างมาก
                     ่
               ลมจากภายนอกที่เข้าออกร่างกาย ต้องเป็นลมที่สะอาดหรืออากาศบริสุทธิ์และมีระดับพอดี จึงจะท าให้ร่างกาย

                                                                        ่
                                                       ิ
               ขับเคลื่อนอย่างมีพละก าลัง ลมที่เจือปนด้วยพษจะท าให้ร่างกายออนแรง สมองไม่ปลอดโปร่ง หากมีลมที่เข้า
                                                                                                 ั
               ร่างกายมากเกินไปและไปจุกแน่นในส่วนที่ไม่ต้องการเช่น ในกระเพาะล าไส้ จะท าให้ร่างกายอดอดและเจ็บปวด
                                                                                              ึ
                                                ี
               ลมที่พอดีสม่ าเสมอราบเรียบและละเอยดละออจะเป็นลมที่ดีที่สุด ลมที่เกิดจากภายใน เป็นนามธรรม เรียกว่า
               อารมณ์ มีส่วนส าคัญ เพราะอารมณ์ด้านดีมีผลให้เจริญสติก่อเกิดปัญญาก าเนิดไหวพริบปฏิภาณ ส่วนอารมณ์

               ด้านเสียมีผลให้ขาดสติไร้ปัญญาสร้างปัญหาเกิดหุนหันพลันแล่นเป็นภัยร้ายแรง การฝึกปฏิบัติภาวนากรรมฐาน

                        ุ
                                                                                 ุ้
               ตามหลักพทธศาสนา จึงเป็นการฝึกฝนอบรมธาตุลมอย่างถูกวิธีท าให้จิตใจไม่ฟงซ่าน นอกจากนี้การฝึกเจริญสติ
               ด้วยการฟอนเจิงก็เป็นภาวนาอย่างหนึ่งที่ส่งผลถึงพฒนาการทางร่างกายและจิตใจด้วย นายศรัณ ฝึกกรรมฐาน
                                                           ั
                        ้
               โดยเริ่มก าหนดจิตไว้ที่ปลายจมูก ส ารวจลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าลึกและออกยาวค่อย ๆ ให้ประณีตสม่ าเสมอ

                                                                                                          ้
               ละเอยดละออ เมื่อการเคลื่อนไหวเริ่มขึ้นจึงย้ายกรรมฐานเคลื่อนจิตหมุนเวียนก่อเกิดสมาธิในยามร่ายฟอน
                    ี
               เมื่อหัวใจเต้นแรงขึ้นยังสามารถควบคุมลมหายใจต่อเนื่องให้สัมพนธ์กับการเคลื่อนไหว จนกระทั่งจิตนิ่งเป็นสมาธิดี
                                                                    ั
               อมเอบในห้วงเวลา แล้วจึงค่อยถอนออกจากกรรมฐาน คนเราจ ะ คุ้นเคยกับธาตุลมมากกว่าธาตุอน
                    ิ
                 ิ่
                                                                                                           ื่
                                                                             ี
               เพราะต้องหายใจเข้าออกทุกขณะหยุดไม่ได้ จะกลั้นลมหายใจได้ก็เพยงชั่วครู่ การฝึกกลั้นด้วยสติเป็นคุณ
               แต่หากเผลอกลั้นด้วยโลภะ โทสะ โมหะ หรือโลภโกรธหลงย่อมเป็นโทษแน่นอน ถึงแม้เราจะรู้จักลมภายนอกและ

                                                                            ื่
               ลมภายในแล้ว แต่การจะท าความเข้าใจและฝึกใช้กระแสของธาตุลมเพอให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ
               ไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้น ลมจึงเป็นเสมือนมิตรและเป็นศัตรูได้ทุกขณะ จึงควรหมั่นฝึกฝนการใช้ลมเยี่ยงมิตร

               ด้วยการมีสติและการก าหนดลมหายใจเข้าออกอย่างระมัดระวัง ระลึกได้เมื่อไรก็ท าเมื่อนั้น จึงจะสามารถเรียก

               พลังงานด้านนี้มาใช้ได้ยามต้องการ ธาตุลมใกล้ชิดกับธาตุน้ า ที่ใดมีน้ าจะมีกระแสลมผ่านไม่ขาด พลังน้ าจึงเรียกลม

                       ็
               การบ าเพญจิตให้นิ่งเจริญสติก าหนดลมหายใจเข้าออกท าให้ธาตุน้ าหมุนเวียนเป็นพลังดึงดูดให้ลมโกรกผ่านบริเวณ
               พลังงานนั้น การเรียกลมเรียกฝนใช้หลักการเดียวกันพลังจิตต้องกล้าแข็งจึงจะส าเร็จ ซึ่งครูอาจารย์ท่านกล่าวไว้ว่า

               การเคลื่อนไหวและใช้ร่างกายด้วยพลังแห่งธาตุลมคล้ายคลึงกับพลังจากธาตุน้ า คือ มีความนุ่มนวล แต่พลังลม

               ที่ใช้นั้นจะแผ่วเบาเรียบง่ายกว่า การเคลื่อนไหวต้องผ่อนคลายรู้สึกสบายตัวแทบไม่มีแรงหลงเหลือในกล้ามเนื้อ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69