Page 64 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 64
58
ข้อเสนอแนะ
ั
จากการศึกษาความต้องการพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ผู้ศึกษาได้น าข้อมูลมาพิจารณาและมข้อเสนอแนะ ดังนี้
ี
ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้
การศึกษาครั้งนี้เป็นการส ารวจความต้องการพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและ
ั
วัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พร้อมเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ั
ื่
เพอพฒนาตนเอง ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ดังนั้น
ื่
ั
ั
ื่
เพอให้เกิดการพฒนาศักยภาพของนักศึกษา ส านักศิลปะและวัฒนธรรมจึงควรมีการจัดท าหลักสูตรเพอพฒนา
ศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษา ดังข้อเสนอแนวทางการด าเนินงานที่ตรงตาม
ึ
ึ
ความต้องการของนักศกษาอย่างแท้จริง อันประโยชน์ในการสร้างบัณฑิตที่พงประสงค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่ต่อไป
ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป
2.1 ผู้วิจัยควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพอใช้เป็นจุดแข็ง และโอกาสในการพฒนาปรับปรุงการด าเนินกิจกรรม
ั
ื่
การสร้างบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
1.2 ผู้วิจัยควรศึกษาเชิงเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนานักศึกษาในแต่ละรูปแบบ เพอหาจุดแข็ง
ื่
ื่
ั
และจุดออนของแต่ละรูปแบบ และพฒนาเพอให้เกิดรูปแบบที่ดี ที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการจัดกิจกรรม
่
เสริมหลักสูตรในการสร้างบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
เอกสารอ้างอิง
กุลสิรี โค้วสุวรรณ์. (2550). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. เชียงใหม่: เวียงพิงค์การพิมพ์.
นัยนัน บุญมี. (2555). ความต้องการพฒนาตนเองของพนักงานบริษัทหลักทรัพย์ เคที ซีมิโก้ จ ากัด.
ั
ิ
การค้นคว้าอสระ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและเอกชน). กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการอุดมศกษา พ.ศ. 2561. (2563). สืบค้นจาก www.ratchakitcha.
ึ
soc.th
เปาวลี วิมูลชาติ. (2549). การศึกษาการรับรู้ความสามารถของตนเองและความต้องการพฒนาตนเองของ
ั
ข้าราชการกรมการทหารสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา อุตสาหกรรม
และองค์การ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.