Page 63 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 63

57


                       2. วิธีการในการพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัย
                                      ั
               ราชภัฎเชียงใหม่ พบว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ส่วนใหญ่ต้องการพฒนาศักยภาพของตนเอง
                                                                                     ั
               ด้วยรูปแบบกิจกรรมการฝึกอบรม ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 73.75 ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

                                                              ื่
               ซึ่งมีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายเพอผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสู่สังคม ด้วยการกาหนด
                                  ึ
               คุณลักษณะบัณฑิตที่พงประสงค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คือ คนดี ความรู้ดี บุคลิกภาพดี สุขภาพดี
               และพลเมืองดี และสิ่งที่จะเป็นเครื่องมือในการสร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังที่มหาวิทยาลัยก าหนด

               ซึ่งนอกจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนแล้ว กิจกรรมเสริมหลักสูตรนอกห้องเรียนก็เป็นอกเครื่องมือ
                                                                                                ี
               หนึ่งในการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พงประสงค์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
                                                                     ึ
               และเป็นหน้าที่หลักของส านักศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานสนับสนุนทางวิชาการของมหาวิทยาลัย

                                                                      ื่
               ราชภัฏเชียงใหม่ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรนอกห้องเรียนเพอพฒนาศักยภาพของนักศึกษา ซึ่งมีรูปแบบ
                                                                        ั
               ที่หลากหลาย ประกอบด้วย การฝึกอบรม การเสวนา การอภิปราย การสัมมนา ฯลฯ ซึ่งสอดคล้องกับ

                                                                                              ั
               การส ารวจความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ส่วนใหญ่มีความต้องการพฒนาศักยภาพ
                                                                                                   ้
               ของตนเอง ด้วยรูปแบบกิจกรรมการฝึกอบรม ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ Leonard Nadler (อางถึงใน
                                                                                   ั
               อาคม บุญเกิด, 2556, น. 23 – 24) ที่ว่า การฝึกอบรม เป็นกิจกรรมการพฒนาบุคลากรให้มีความรู้
                                                                                   ้
               ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน และ Boydell (อางถึงใน เปาวลี  วิมูลชาติ,
                                                                    ั
               2549, น. 25) กล่าวว่า การอบรมตามหลักสูตร เป็นวิธีการพฒนาตนเองวิธีการหนึ่งซึ่งเป็นที่ยอมรับและ
                                                                                                ั
               แพร่หลายที่สุด เช่นเดียวกับ อริสา เหรียญบุญยงค์ (2549) ที่เห็นว่า การฝึกอบรม เป็นวิธีการพฒนาตนเอง
               ของบุคลากรในองค์การเพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับการท างานอย่างเป็นกระบวนการ เป็นการวางแผน ปรับทัศคติ

                                                                   ั
               ความรู้ ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์ในการเรียนรู้  อนจะน าไปสู่ความส าเร็จในการปฏิบัติงาน
               อย่างมีประสิทธิภาพ

                                                           ื่
                       3. แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพอพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
                                                             ั
               ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้แก่ 1. การจัดกิจกรรมในรูปแบบการฝึกอบรม 2. ระยะเวลา
               ในการจัดกิจกรรม จ านวน 1 วัน วันจันทร์ – วันศุกร์ และช่วงระยะเวลา 08.30 – 16.00 น. 3. สถานที่ในการ

               จัดกิจกรรม ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่  ศูนย์เวียงบัว อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และ 4. หัวเรื่อง

                                                                ั
                                                                                        ั
               ในการจัดกิจกรรม คือ ภาษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพฒนาบุคลิกภาพ และการพฒนาทักษะที่จ าเป็น
               ในศตวรรษที่ 21
   58   59   60   61   62   63   64   65   66