Page 62 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 62

56


               กล่าวว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นสิ่งส าคัญยิ่งส าหรับองค์กรในยุคปัจจุบัน เพราะการที่องค์จะก้าวต่อไป

                                                                            ั
               ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างยั่งยืน ล้วนต้องอาศัยการพฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นรากฐาน
                                                                                             ั
               ทั้งสิ้น และสอดคล้องกับ อาคม  บุญเกิด (2556, น.22) ที่กล่าวถึงเป้าหมายของการพฒนาตนเองว่า
                         ิ่
                            ู
               เป็นการเพมพนความรู้ ความสามารถ ทักษะ ความช านาญ และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่น าไปสู่
               การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการท างานให้ประสบความส าเร็จ ซึ่งส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าทั้งต่อตนเอง

                                                                            ั
               และองค์กร และ นัยนัน บุญมี (2555, น.11) ได้กล่าวว่า บุคคลที่มีการพฒนาตนเองจะรู้จักและเข้าใจตนเอง
               มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว หน้าที่การงาน และสังคม โดยไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อน
                                                                                                        ื่
               รู้จักแก้ปัญหาบนฐานของเหตุผล ประพฤติตนอยู่ในกรอบของสังคมและวัฒนธรรมอันดีงาม มีความขยัน อดทน

               และไม่ย่อท้อต่ออปสรรค์ จึงท าให้ด าเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข และประสบความส าเร็จในชีวิต สอดคล้องกับ
                              ุ
               งานวิจัยของ วิโรจน์ หมื่นเทพ และคณะ (2557) ศึกษาความต้องการพัฒนาศักยภาพตนเองของนักศกษาระดับ
                                                                                                 ึ
                                               ื่
               ปริญญาตรีในเขตจังหวัดปทุมธานี เพอเข้าสู่การแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลการวิจัย พบว่า
               นักศึกษามีความต้องการพัฒนาศักยภาพตนเองสูงที่สุด โดยเฉพาะด้านทักษะวิชาชีพ เป็นอันดับแรก รองลงมา
               คือ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านภาษา และด้านการเรียนรู้ ตามล าดับ

                       จะเห็นได้ว่า การพฒนาทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นสิ่งส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งกับองค์กร เพราะการที่
                                      ั
               บุคลากรในองค์กรมีคุณภาพจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงความส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนดขององค์กร ดังนั้น

                                                                                      ั
               จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคมที่จะต้องให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดการพฒนาทรัพยากรมนุษย์
                                                                                     ื่
               ซึ่งเป็นสมาชิกของสังคมได้มีการพฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและตามความสนใจ เพอเพมศักยภาพในตนเอง
                                                                                         ิ่
                                            ั
               ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อนส่งผลกระทบอย่างเป็นห่วงโซ่กับภาพรวมของประเทศ เพราะการ
                                                  ั
               ที่ประเทศมีบุคลากรมีศักยภาพและคุณภาพ เปี่ยมไปด้วยความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และประสบการณ์ จึงท าให้
               สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างรู้เท่าทัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความส าเร็จของประเทศที่มีความแข็งแกร่ง

               สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้อย่างเต็มภาคภูมิ และเดินทางไปสู่ความส าเร็จตามเป้าประสงค์ของ

               ประเทศได้อย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคมที่จะต้องช่วยกันส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร
               มนุษย์ของสังคมให้เป็นบุคคลคุณภาพ โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาซึ่งท าหน้าที่จัดการเรียนการสอนให้กับ

               สมาชิกในสังคม ดังที่ อจศรา  ประเสริฐสิน (2558, น.6) กล่าวว่า เป็นหน้าที่ของสถาบันการศึกษาที่จะต้อง
                                   ั
               ด าเนินการเพอสร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะตามที่สังคมต้องการ ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ก าหนด
                           ื่
               มาตรฐานการอดมศึกษา พ.ศ. 2561 โดยเฉพาะด้านผลลัพธ์ผู้เรียน (ราชกิจจานุเบกษา, 2561, น. 20)
                             ุ
                                                            ุ
               ซึ่งน าไปสู่การจัดท ากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดมศึกษา (มคอ) ในการสร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ
               ที่พึงประสงค์ของบัณฑิตระดับอุดมศึกษาทุกระดับและทุกสาขาวิชาตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66