Page 59 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 59

53


               นักศึกษาได้อย่างเต็มที่ และส่งผลต่อการผลิตบัณฑิตคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ออกสู่สังคม

               ดังเอกลักษณ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “สถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น”


               วัตถุประสงค์ของการวิจัย

                           ื่
                       1. เพอศึกษาระดับความต้องการของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ในการพฒนาศักยภาพ
                                                                                              ั
               ของตนเอง ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม

                       2. เพอศึกษาวิธีการในการพฒนาศักยภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ด้านการท านุ
                           ื่
                                              ั
               บ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
                           ื่
                       3. เพอเสนอแนวทางการจัดท ากิจกรรมเสริมหลักสูตรเพอพฒนาศักยภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัย
                                                                        ั
                                                                     ื่
               ราชภัฏเชียงใหม่ ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม


               ระเบียบวิธีวิจัย
                                                                                   ั
                       การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงส ารวจ ที่มุ่งเน้นการส ารวจความต้องการพฒนาศักยภาพตนเองของ
               นักศึกษาด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อน าผลการศึกษาที่ได้ไปพัฒนาเพอจัดท ากิจกรรมเสริมหลักสูตร
                                                                                 ื่
                                                                                          ั
               การพฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เพอให้นักศึกษาเกิดการพฒนาศักยภาพของ
                                                                       ื่
                    ั
               ตนเองได้อย่างเต็มความสามารถ และตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
               เชียงใหม่ โดยเริ่มจากการศึกษา และรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และการค้นคว้า
               เชิงอิสระ ตลอดจนบทความต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดกรอบการศึกษาในครั้งนี้ จากนั้น

               ด าเนินการส ารวจความต้องการและสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาราชภัฏเชียงใหม่ ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย

               จ านวน 389 คน จากนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ภาคปกติ ปีการศึกษา 1 – 4 จ านวน 13,683 คน

               (ส านักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 2563) โดยใช้สูตรการค านวณของ Taro

               Yamane มีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากนั้นท าการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยการวิเคราะห์
               เชิงพรรณา และเชิงสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ โดยมีเกณฑ์ดังนี้


                       จ านวนร้อยละ 100 – 80       หมายถึง ระดับมากที่สุด

                       จ านวนร้อยละ 79  – 60       หมายถึง ระดับมาก

                       จ านวนร้อยละ 59 –  40       หมายถึง ระดับปานกลาง

                       จ านวนร้อยละ 39 –  20       หมายถึง ระดับน้อย

                       จ านวนร้อยละ 19  – 0        หมายถึง ระดับน้อยที่สุด
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64