Page 60 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 60

54


               ผลการวิจัย

                                           ั
                       1. ระดับความต้องการพฒนาศักยภาพตนเองด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษา
               มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่


               ตารางที่ 1     ระดับความต้องการพัฒนาศักยภาพตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

                  ความต้องการพัฒนาตนเอง             จ านวน                 ร้อยละ              ความหมาย
                          ต้องการ                    363                   90.75                มากที่สุด

                         ไม่ต้องการ                   37                    9.25                น้อยที่สุด



                       จากตารางที่ 1 พบว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีความต้องการพฒนาศักยภาพตนเอง
                                                                                        ั
               ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุด (ร้อยละ 90.75)




                       2. รูปแบบกิจกรรมในการพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ของนักศึกษา
                                               ั
               มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่


               ตารางที่  2    ระดับรูปแบบกิจกรรมในการพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
                                                         ั
               ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่


                       รูปแบบกิจกรรม                จ านวน                 ร้อยละ              ความหมาย

                    การอภิปรายเชิงวิชาการ             60                   15.00                น้อยที่สุด

                        การฝึกอบรม                   295                   73.75                  มาก

                    การเสวนาทางวิชาการ                0                      0                      -

                    การสัมมนาทางวิชาการ               45                   11.25                น้อยที่สุด


                       จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีความต้องการรูปแบบกิจกรรม
               ในการพฒนาศักยภาพตนเองด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในรูปแบบกิจกรรมการฝึกอบรม โดยมี
                      ั
               รูปแบบกิจกรรมที่ต้องการพฒนาศักยภาพสูงสุด คือ การฝึกอบรม (295 คน, ร้อยละ 73.75) รองลงมา คือ
                                       ั
               การอภิปรายเชิงวิชาการ (60 คน, ร้อยละ 15.00) ตามด้วยการสัมมนาทางวิชาการ (45 คน, ร้อยละ 11.25)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65