Page 58 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 58
52
บทน า
“ทรัพยากรมนุษย์” นับเป็นปัจจัยส าคัญในการบริหารจัดการองค์กรไปสู่เป้าหมายตามที่ต้องการ และ
การที่องค์กรจะบรรลุเป้าหมายการด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จ าเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรในหน่วยงาน
ั
จะต้องมีความรู้ ความสามารถ ดังจะเห็นได้จากหลักการส าคัญของแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ั
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) “ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพฒนา” โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจุบัน
เป็นโลกแห่งการเรียนรู้และการแข่งขัน (ส านักนายกรัฐมนตรี, 2563) ดังนั้น คุณภาพของคนจึงเป็นตัวแปร
ั
ส าคัญในการก าหนดขีดความสามารถในการแข่งขัน เพราะการพฒนาถือเป็นหัวใจส าคัญในการด าเนินงาน
ให้ประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนด และจ าเป็นอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ซึ่งเป็น
หน่วยงานจัดการศึกษาจึงต้องส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษาให้มีการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
เพื่อเป็นบัณฑิตคุณภาพออกรับใช้สังคม
ดังนั้น ส านักศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่หน้าที่สนับสนุนด้านการท านุบ ารุงศิลปะและ
ื่
วัฒนธรรมด้วยการบูรณาการความรู้สู่ระบบการเรียนรู้เพอพฒนานักศึกษาและท้องถิ่น ทั้งนี้ ชุมชน ท้องถิ่น
ั
ั
และประเทศจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศได้ ปัจจัยส าคัญที่สุดของกระบวนการพฒนา คือ คน
หากคนซึ่งเป็นกลไกส าคัญ แห่งการพฒนา มีความรู้ดี รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ต่าง ๆ
ั
สามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องบนฐานของข้อมูล จะเป็นส่วนส าคัญในการน าพาองค์กรไปสู่เป้าหมายได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น ส านักศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานสนับสนุนในการผลิต
ึ
ั
บัณฑิตที่มีคุณภาพสู่สังคม และพฒนาศักยภาพของนักศึกษาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พงประสงค์ตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดมศึกษา และปัจจัยส าคัญที่จะท าให้มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มีบัณฑิต
ุ
ั
ั
ที่มีคุณลักษณะตามต้องการได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด คือ “การพฒนาศักยภาพนักศึกษา” ทั้งการพฒนา
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ ซึ่งนอกจากความรู้ในห้องเรียนแล้ว กิจกรรมเสริมนอก
ห้องเรียนเป็นอกหนึ่งกลไกส าคัญในการส่งเสริม สนับสนุนการพฒนาศักยภาพของนักศึกษาเพอสร้างบัณฑิต
ั
ี
ื่
ุ
ที่มีคุณลักษณะพงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดมศึกษา (TQF) (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่,
ึ
ึ
2563) ทั้งนี้ หากนักศกษามีการเรียนรู้ในห้องเรียน และการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมเสริมนอกห้องเรียนที่สนับสนุน
และส่งเสริมซึ่งกันและกันแล้ว จะท าให้นักศึกษามีการพัฒนาของตนเองอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นความส าคัญของการพฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยเฉพาะด้านการท านุบ ารุงศิลปะ
ั
และวัฒนธรรม จึงมีความสนใจศึกษาเรื่อง ความต้องการพฒนาศักยภาพด้านการท านุบ ารุงศิลปะและ
ั
วัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ เนื่องจากผู้วิจัยปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม
การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม จึงต้องการทราบถึงความต้องการของนักศึกษาเพอสามารถจัดกิจกรรม
ื่
ได้ตรงกับความต้องการ อนจะน าไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพฒนาศักยภาพของ
ั
ั