Page 53 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 53
47
ั
กลุ่มหรือพรรคพวกอกด้วย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ฉลาดชาย รมิตานนท์ (2554) ที่กล่าวถึงอตลักษณ์ว่า
ี
ื่
มีความส าคัญต่อระบบสังคม กล่าวคือ ประการแรกท าให้รู้สึกเป็นตัวเรา หรือพวกเราที่แตกต่างจากคนอน
โดยไม่จ าเป็นต้องมีเพยงหนึ่งอตลักษณ์ แต่อาจมีหลายอัตลักษณ์ที่ประกอบขึ้นมา ด้วยอัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่
ั
ี
ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับคนหรือสิ่งของ แต่เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นและเปลี่ยนแปลงได้
ซึ่งบ่งบอกถึงลักษณะเฉพาะและลักษณะพเศษที่จะบ่งบอกตัวตนของสิ่งนั้นหรือบุคคลนั้น สอดคล้องกับ
ิ
วรรณนิภา ชวนชม และคณะ (2554) ศึกษาการก่อตัวของกลุ่มสักยันต์ห้าแถวหนุนดวงในกรุงเทพ พบว่า
การสักยันต์ห้าแถวหนุนดวงนั้นสามารถสะท้อนถึงความเชื่อของผู้ศรัทธาที่มีต่อการสักยันต์ ได้แก่
ื่
ั
เพอความมั่นคงก้าวหน้าในอาชีพการงานและกิจการ สามารถป้องกันภัยอนตรายจากการเดินทาง
ื่
สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และเพอความสวยงาม ในอดีตรอยสักได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก
ื่
โดยเฉพาะในกลุ่มชายไทยที่มุ่งเน้นการสร้างกุศโลบาย เพอยึดเหนี่ยวจิตใจในการสู้รบที่จะให้ผล
ั
ิ
ทางด้านไสยศาสตร์ในความอยู่คงกระพนชาตรี ในอดีตความเชื่อดังกล่าวได้รับอทธิพลทางด้านศาสนา
จึงเป็นที่สังเกตว่า การสักจะให้ผลทางไสยศาสตร์ที่เป็นเสมือนเครื่องรางของขลังส าหรับผู้ที่มีรอยสักว่า
ั
สามารถป้องกันภัยอนตรายจากศึกสงคราม ความอยู่ยงคงกระพนชีวิตอยู่ด้วยความมั่นใจ และศักดิ์ศรี
ั
ความเป็นชาย อีกทั้งยังมความศรัทธาต่องานศิลปะการสัก และอนุรักษ์สืบสานให้คงอยู่ตลอด
ี
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์
กระทรวงสาธาณสุขควรมีการเผยแพร่รูปแบบการสักที่เข็มสักถูกพฒนาให้ถอดเปลี่ยนสามารถใช้ได้
ั
ื่
ี
เพยงครั้งเดียวตามหลักสากล เพอให้เกิดการรับรู้ในวงกว้าง ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้สัก และ
วงการสักลาย
ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
1. นักวิจัยควรศึกษากระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสักขาลายก้อม
ของนายศราวุธ แววงาม เพื่อเปรียบเทียบกับกระบวนการดั้งเดิม
2. นักวิจัยควรศึกษาความพึงพอใจในการสักขาก้อมของกลุ่มลูกค้าต่อการสักขาก้อม เพื่อน ามาพฒนา
ั
และปรับปรุง ให้อยู่ร่วมกับยุคปัจจุบัน
เอกสารอ้างอิง
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2554). แนวคิดในการศึกษาอัตลักษณ์ความเป็นไท. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี.
ชยกภรณ์ นรากร. (2548). วิวัฒนาการการสักและวัฒนธรรมมวลชนกับการสักรอยศิลปะบนเรือนร่าง.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
พระอาจารย์ศุภชัย ชยสุโภ. (2562). วัดสวนดอก พระอารามหลวง ต าบลสุเทพ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.