Page 52 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 52
46
เป็นการบันทึกเรื่องราวไว้บนร่างกาย จึงท าให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาสอบถามความเป็นมาและประวัติ
การสักขาก้อมด้วย
การสักก็เป็นงานศิลปะอย่างหนึ่ง และศิลปะจะเกิดขึ้นได้จะต้องมีความเป็นอสระให้แก่ศิลปินหรือคน
ิ
สร้างผลงาน และการเผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook และมิวเซียมสยาม ร่วมกับ Museum
Taiwan น าเสนอวัฒนธรรมการสักโบราณของไทย โดยมาถ่ายท าสารคดีการสักขาก้อม รวมถึง
การที่สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดท าหนังสือเรื่อง รอยสักของ ไทใหญ่ โดยอาจารย์สายสม
ั
ธรรมธิ ตลอดจนหน่วยงานและองค์การต่าง ๆ เข้ามาส่งเสริม อาทิ BLOODLINE TATTOO ประชาสัมพนธ์
ผ่านสื่อออนไลน์ จึงท าให้เรื่องราวการสักขาก้อม ได้เผยแพร่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
ภาพที่ 6 : การแสดงรูปแบบของการสักขาก้อมจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
อภิปรายผล
การวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อและแรงจูงใจในเรื่องของรอยสักขาก้อม ที่มีมาตั้งแต่
บรรพบุรุษ ผู้สักขาก้อมเปรียบเสมือนนักรบ ที่สามารถปกป้องชุมชนหมู่บ้านให้รอดพ้นภัยอันตราย และยังเป็น
วัฒนธรรมที่สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น สอดคล้องกับแนวคิดของ อมรา พงศาพิชญ์ (2534) อธิบายว่า วัฒนธรรม คือ
ื่
รูปแบบพฤติกรรม วิถีชีวิต และระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพอรับใช้ในสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละ
สังคม โดยเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ ถ่ายทอดสู่รุ่นต่อรุ่นในสังคม โดยมีทั้งวัฒนธรรมในเชิงนามธรรม
ได้แก่ ภาษา ความเชื่อ กริยา มารยาท และวัฒนธรรมในเชิงรูปธรรม ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน วัด และ
ศิลปกรรม ประติมากรรมต่าง ๆ ตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ และยังคงเป็นอตลักษณ์กลุ่ม ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
ั