Page 49 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 49
43
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาแรงบันดาลใจในการสักขาก้อมล้านนาของ นายศราวุธ แววงาม
2. เพื่อศึกษารูปแบบการอนุรักษ์และเผยแพร่รอยสักขาก้อมล้านนา
วิธีการด าเนินงาน
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่
๊
นายศราวุธ แววงาม (อาจารย์ออด) ผู้อนุรักษ์และเผยแพร่รอยสักล้านนา โดยมีแบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือ
ื่
ิ
ในการวิจัย ซึ่งเป็นค าถามแบบไม่เป็นทางการ เพอให้ผู้ให้ข้อมูลมีอสระในการเล่าเรื่องและตอบค าถาม จากนั้น
น ามาวิเคราะห์เชิงพรรณา
ผลการวิจัย
“การสักขาก้อมล้านนา” เป็นความเชื่อว่าเป็นการสักเพอทดแทนบุญคุณของพ่อแม่ และเป็นเครื่อง
ื่
พสูจน์ว่าเป็นชายเต็มตัว100% เพราะการสักขาก้อมต้องใช้เวลาและความอดทนเปรียบเสมือนมารดา
ิ
ก าลังอดทนต่อความเจ็บปวดในการคลอดลูก
ในอดีตหากชายใดไม่สักขาก้อมจะถูกล้อเลียนจากหญิงสาวว่าขาเป็นเหมือนผู้หญิง
ดังนั้นการสักขาก้อมจึงเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ช่วยหาคู่ครอง เพราะลายสักจะเป็นที่ดึงดูดใจจากผู้หญิงและ
ยังเป็นที่นิยมต่อผู้ชายมาก นับเป็นแฟชั่นอย่างหนึ่ง การสักขาลายเป็นส่วนหนึ่งของผู้ชายที่มีวิชาหรือคาถา
ติดตัวทุกคน โดยมีข้อปฏิบัติ เรื่อง การอาบน้ า คือ ผู้ที่มีลายสักจะต้องอาบน้ าที่ต้นน้ าเท่านั้น หากอยู่ปลายน้ า
จะท าให้วิชาและคาถาอาคมที่ได้ร่ าเรียนมาเสื่อมลง แต่หากมีแค่ลายการสักขาก้อมยังถือว่าไม่ครบ
องค์ประกอบ หมายความว่าจะต้องมีรอยสักที่หลังก่อน จากนั้นจึงจะเริ่มลงมาสักที่ขา ในปัจจุบันพบได้น้อย
ถึงแม้ว่าการสักจะเป็นที่นิยม แต่เป็นการสักที่เป็นแฟชั่น โดยไม่มีคาถาอาคม นอกจากนี้ ผู้ชายล้านนาในอดีต
ยังเชื่อว่าการสักขาก้อมแสดงถึงความอดทนและพร้อมที่จะมีครอบครัวหรือปกป้องหมู่บ้าน เปรียบเสมือน
นักรบในสมัยก่อน จากค าบอกเล่าโดยคนในสมัยก่อนที่เล่ากันว่า ในอดีตผู้คนจะอาบน้ าตามล าธาร ห้วย และ
หนองในหมู่บ้าน โดยคนที่สักขาลายจะอาบน้ าที่ต้นน้ าของหมู่บ้าน ส่วนคนที่ไม่ได้สักและกลุ่มผู้หญิงและเด็ก
ในหมู่บ้านจะอาบน้ าต่อลงไปตามล าดับ โดยมีความเชื่อว่าคนที่สักนั้นเปรียบเสมือนนักรบ เมื่ออาบน้ าและ
น้ าพดไหลไปยังหมู่บ้านเสมือนมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครองให้ปลอดภัยจากสิ่งไม่ดี ซึ่งเป็นแนวคิดเดียวกับการเคารพ
ั
เทพหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และการเคารพพอแม่หรือบรรพชน เพราะถือว่าเป็นพระในบ้านจึงมีชุดแนวคิดเหมือนกัน
่
กับการสักขาก้อมที่เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นถึงการเคารพพอแม่หรือบรรพชน โดยการสักขาก้อมจะเป็น
่
การรวบรวมศิลปะและความเชื่อออกมาเป็นรอยสัก โดยการสักขาก้อมมีหลายรูปแบบ อาทิ การสักขาก้อม
ล้านนา การสักขาก้อมแบบปกากะญอ เป็นต้น