Page 50 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 50
44
ภาพที่ 1 รูปแบบการสักขาก้อมแบบดั้งเดิม ภาพที่ 2 รูปแบบการสักขาก้อมแบบบล็อกสี่เหลี่ยม
(ตีกรอบสี่เหลี่ยมที่เป็นเอกลักษณ์) (ตีกรอบสี่เหลี่ยมที่เป็นเอกลักษณ์แต่ไม่สักกรอบ)
ภาพที่ 3 รูปแบบการสักขาก้อมบล็อกกลม ภาพที่ 4 รูปแบบการสักขาก้อมแบบดั้งเดิม
(เป็นการประยุกต์จากนายศราวุธ แววงาม) ผลงานของนายศราวุธ แววงาม)
การศึกษาแรงบันดาลใจในการสักขาก้อมของนายศราวุธ แววงาม พบว่า นายศราวุธ ได้พบการสัก
ขาก้อมที่เป็นลวดลายในอดีต จากการที่พระสงฆ์รูปหนึ่งที่มาซื้อหมึกในการสักจากร้าน และพระครูรูปนั้น
ได้เปิดขาให้ดูการสักขาก้อมแบบล้านนา ท าให้นายศราวุธ ได้หวลร าลึกถึงความทรงจ าในวัยเด็ก ด้วยความเป็น
เด็กจึงท าให้ไม่เข้าใจในความหมายของการสัก และเมื่อเติบโตกลับพบว่า ไม่มีช่างสักขาลายแบบนี้ ดังนั้น
เมื่อได้พบผู้ที่สักได้ เลยกลัวว่าจะไม่มีโอกาสได้สัก ด้วยเคยสอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ถึงคนที่สักขาก้อม (สล่าสัก)
ได้ความว่า ช่างบางคนได้เสียชีวิตไปแล้ว บางคนไม่สามารถสักได้แล้ว เนื่องจากมีอายุกว่า 100 ปี นอกจากนี้
ั
การสักสามารถท าให้แยกกลุ่มชาติพนธุ์ได้ เช่น คนเมืองที่สักขาก้อม ในจังหวัดน่าน เชียงใหม่ แพร่ และพะเยา