Page 51 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 51

45


                                                                                                      ึ
               จะสักขาก้อมครึ่งต้นขา แต่จากการศึกษาท าให้นายศราวุธ พบรอยสักแบบโบราณในกลุ่มปกากะญอที่สักถงเข่า
               ซึ่งเหมือนกับภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน แต่ยังคงไม่ทราบว่ารอยสักใดเกิดขึ้นก่อน ระหว่าง
                                                                                    ื่
               ครึ่งคลุมเข่าหรือครึ่งต้นขา นอกจากนี้ยังได้ทราบว่า การสักของแต่ละกลุ่มนั้นมีไว้เพอการค้าขายกับกลุ่มต่าง ๆ
               เพราะรอยสักแสดงถึงความน่าเชื่อถือ

                         จากการที่นายศราวุธ  แววงาม ได้สักขาลายก้อมกับอาจารย์สักขาก้อมที่ใช้วิธีการสักแบบโบราณ
                                                                    ื่
               จึงท าให้เกิดแรงบันดาลใจที่จะเรียนรู้วิธีการสักลายขาก้อมเพอการอนุรักษ์ นอกจากนี้ยังได้แรงบันดาลใจ
               จากการได้ศึกษาเล่าเรียนประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับวัด และสิ่งก่อสร้างในอดีต รวมถึง
               ศิลปะและประวัติศาสตร์ เช่น จิตรกรรม ท าให้ได้พบภาพจิตรกรรมฝาผนังในวัดที่มีการวาดภาพคนสักขาก้อม

                                                                  ั
               รวมถึงการบอกเล่าของผู้สูงอายุว่า ในอดีตผู้ชายทุกคนจะสักกนหมด และปัจจุบันก าลังจะสาบสูญไป ประกอบ
               กับความชื่นชอบในเรื่องของศิลปะการสักเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จึงท าให้นายศราวุธ แววงาม มีความสนใจและ
                                                                                     ี
               ต้องการที่จะอนุรักษ์การสักลายขาก้อมเพอให้คงอยู่คู่สังคมล้านนาก่อนที่จะเหลือเพยงเรื่องเล่าและภาพจาก
                                                  ื่
               จิตรกรรมฝาผนัง ดังนั้น จึงได้เรียนรู้ที่จะสืบสานองค์ความรู้ดังกล่าว และถ่ายทอดให้กับเยาวชน เพื่อเป็นมรดก
               ทางวัฒนธรรมของชุมชนสืบไป

























                                  ภาพที่ 5 : การสัมภาษณ์ นายศราวุธ แววงาม และผู้ร่วมสืบสานการสักขาก้อม




                       ด้วยการสักขาก้อมก าลังจะสูญหายไป นายศราวุธ  แววงาม มีความต้องการให้มีผู้สืบทอดวัฒนธรรม
               ให้คงอยู่ในอนาคต เนื่องจากความนิยมน้อยลงเพราะตามพนที่ต่าง ๆ ที่มีประวัติกับการสักขาก้อมที่มีมา
                                                                  ื้
               ตั้งแต่อดีตได้มีการจัดตั้งโรงเรียน และระบบการศึกษาที่เข้ามาได้ท าให้ความคิดเกี่ยวกับการสักนี้เปลี่ยนไป
               หรือน้อยลง ประกอบกับเรื่องสุขอนามัยที่ได้เรียนรู้จึงท าให้หันกลับมามองการสักพนเมืองว่า ไม่สะอาด และ
                                                                                    ื้
               ไม่ปลอดภัย แต่วิธีการการสักแบบโบราณหาได้ยากในปัจจุบัน ด้วยคนที่สักในอดีตมีอายุมาก และภาษาที่ใช้

               ในการสื่อสารจึงท าให้ยากต่อการเข้าถึง ปัจจุบันได้มีการพฒนาเข็มสักให้เปลี่ยนได้ เพอให้ถูกสุขอนามัยตาม
                                                                                       ื่
                                                                ั
               กฎสากลของโลก และหมึกสักก็ใช้หมึกทั่วไปซึ่งหาได้ตามร้านสักปกติ ประกอบกับการเปิดกว้างของสังคม
               ที่ยอมรับการสัก จึงท าให้คนที่มีรอยสักได้รับการยอมรับและมีพนที่ยืนในสังคมเพมขึ้น ซึ่งการสักขาก้อม
                                                                                      ิ่
                                                                       ื้
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56