Page 61 - หนังสือรวมบทความ 2565
P. 61
55
ื่
3. แนวทางการจัดท ากิจกรรมเสริมหลักสูตรเพอการพฒนาตนเองด้านการท านุบ ารุงศิลปะและ
ั
วัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จากกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เจาะจง จ านวน 389 คน
ี
มีรายละเอยด ดังนี นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ในชั้นปีการศึกษาที่ 1 – 4 ภาคปกติ ทั้งชาย
และหญิง ในปีการศึกษา 2563
3.1 รูปแบบกิจกรรมในการพฒนาตนเอง จากการศึกษาพบว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
ั
เชียงใหม่ต้องการการพัฒนาตนเองในรูปแบบของการฝึกอบรม
3.2 ช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม พบว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ต้องการให้จัด
กิจกรรม จ านวน 1 วัน ในช่วงวันท าการ (วันจันทร์ – ศุกร์) โดยมีช่วงระยะเวลา คือ 08.30 – 16.00 น.
3.3 สถานที่ในการจัดกิจกรรม พบว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ต้องการให้จัด
ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ศูนย์เวียงบัว อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
3.4 หัวข้อที่นักศึกษาต้องการในการพฒนาศักยภาพของตนเองด้านการท านุบ ารุงศิลปะ
ั
ั
และวัฒนธรรม ได้แก่ ภาษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพฒนาบุคลิกภาพ และการพฒนาทักษะที่จ าเป็น
ั
ื้
ในศตวรรษที่ 21 และในส่วนข้อเสนอแนะ พบว่า ควรมีการจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ มีการปฏิบัติจริงและลงพนที่
ในชุมชน มีกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ และมีการประชาสัมพนธ์ที่หลากหลายรูปแบบและหลายช่องทาง
ั
เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากที่สุด
การอภิปรายผล
1. การศึกษาระดับความต้องการพฒนาศักยภาพตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ั
พบว่า อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 90.75 เนื่องจากนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ให้ความส าคัญ
ั
ิ่
ื่
กับการพัฒนาเพอเพมศกยภาพของตนเอง เนื่องด้วยเป็นการเตรียมตนเองให้พร้อมกับการเรียน และเตรียมตัว
ในการลงสนามแข่งขันในการประกอบอาชีพ การใช้ชีวิตท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนแปลงจาก
สถานการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะปัจจุบันทุกประเทศในโลกนี้ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยก าลังเผชิญกับสถานการณ์
ั
โรคระบาดที่ท าให้ทุกคนจะต้องปรับเปลี่ยนตนเองและพฒนาตนเอง โดยมีความรู้เป็นเครื่องมือส าคัญ
ในการจัดการกับความเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมและรู้เท่าทัน ประกอบกับปัจจุบัน
ั
เป็นศตวรรษที่ 21 ศตวรรษแห่งการเรียนรู้ที่ทุกคนจะต้องมีการพฒนาทักษะต่าง ๆ ในการใช้ชีวิต การเรียน
ื่
และการท างาน เพอที่ไม่ให้ตนเองเป็นคนตกยุคหรือล้าสมัย รอบรู้ในเทคโนโลยี รู้เท่าทันสื่อ และเรียนรู้
ั
ื่
ความหลากหลาย เพออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ประกอบกับแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ั
(พ.ศ.2560 – 2564) ให้ความส าคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนี้ การพฒนาทรัพยากรมนุษย์ก่อให้เกิด
ประโยชน์ทั้งกับตนเองและองค์กรในการน าพาองค์กรไปสู่เป้าหมายตามที่ก าหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ั
ประสิทธิผล อนจะส่งผลกระทบโดยรวมต่อการพฒนาประเทศ ดังที่ กุลสิรี โค้วสุวรรณ์ (2550, น.222 – 223)
ั