Page 109 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 109
ผลงำนโดดเด่นมีเอกลักษณ์เป็นที่ยอมรับ
ชื่อผลงำน เอกสารเสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอน กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง ฟ้อนหริภุญไชย
แนวคิดในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานของนายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา เกิดจากแรงบันดาลใจที่ได้รับ
การถ่ายทอดฟอนหริภุญไชย จากท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิเรกชัย มหัทธนะสิน ภาคภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
้
้
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ประดิษฐ์ฟอนหริภุญไชย ที่ท่านและคณะนักศึกษา มาเป็นวิทยากรต้นแบบการถ่ายทอด
้
ฟอนหริภุญไชยให้ เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๓๒ จากการฝึกปฏิบัติฟอนหริภุญไชย และสัมภาษณ์ผู้ประดิษฐ์
้
ั
้
้
ฟอนหริภุญไชย จึงได้ประมวลภาพแห่งความส าเร็จ ที่ส่งผลต่อการรับการถ่ายทอดฟอนหริภุญไชย อนเป็น
ศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดล าพน ซึ่งเป็นเหตุผลในการเขียนและจัดท าเอกสารเสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอน
ู
้
้
กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง ฟอนหริภุญไชย ให้กับครูน าไปเป็นคู่มือประกอบการสอนฟอนหริภุญไชย
ตามจุดหมายของหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ และหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียน
เทคนิคและวิธีกำรกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน
เรียนเชิญผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิเรกชัย มหัทธนะสิน ภาคภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ ผู้ประดิษฐ์ฟอนหริภุญไชย และคณะนักศึกษา มาเป็นวิทยากรต้นแบบถ่ายทอดฟอนหริภุญไชย
้
้
ู
เพลงหริภุญไชย ให้กับคณะวิทยากรของส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดล าพน จ านวน ๑๑ คน ครูผู้ร่วม
ู
สังเกตการณ์ จ านวน ๕๙ คน รวมเป็น ๗๐ คน ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านป่าเห็ว อาเภอเมือง จังหวัดล าพน
ี
้
เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๓๒ นายดนัย สังขทัต ณ อยุธยา ได้เก็บรายละเอยดท่าฟอนหริภุญไชย และลักษณะ
การเคลื่อนไหวตามจังหวะเพลงหริภุญไชย จากการฝึกปฏิบัติตามวิทยากรต้นแบบ และสัมภาษณ์ผู้ประดิษฐ์
้
ฟอนหริภุญไชย จึงประมวลภาพตามแนวคิดเขียนเป็นเอกสารเสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอนกลุ่มสร้างเสริม
ู
ลักษณะนิสัย เรื่อง ฟอนหริภุญไชย โดยคณะวิทยากรของส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดล าพน
้
้
ู
จะเป็นผู้ส่งเสริมเผยแพร่อนุรักษ์ฟอนหริภุญไชย ให้เป็นศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดล าพน และเป็นวิทยากรอบรม
ครูผู้สอนฟอนหริภุญไชย อบรมชุมชน กลุ่มสนใจ และสอนนักเรียน ขยายผลให้เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในจังหวัดล าพูน
้
และจังหวัดใกล้เคียง
เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565 | 105