Page 110 - เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปี 2565
P. 110
ขั้นตอน / วิธีกำรผลิตผลงำน
้
ื่
ขั้นตอน เริ่มต้นด้วยการศึกษาข้อมูลต้นแบบของฟอนหริภุญไชย เพอน ามาเขียนเป็นเอกสาร
เสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอน กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง ฟ้อนหริภุญไชย ปฏิบัติ ดังนี้
๑. สัมภาษณ์ผู้ประดิษฐ์ฟ้อนหริภุญไชย
ื่
๒. จัดอบรมวิทยากรผู้สอนฟอนหริภุญไชย และวิทยากรผู้สอนบรรเลงเพลงหริภุญไชย เพอศึกษา
้
้
้
ท่าฟอนหริภุญไชย ลีลาการฟอนหริภุญไชย การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะเพลงหริภุญไชย ดนตรีประกอบ
การฟ้อนหริภุญไชย จากการสาธิตวิทยากรต้นแบบและจากการสังเกต จึงน าไปเขียนเป็นเอกสารเสริมความรู้ได้
วธีกำรผลิตผลงำน เอกสารเสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอน กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง
ิ
ฟ้อนหริภุญไชย มีดังนี้
๑. ก าหนดเนื้อหา ค าบูชาพระภรตฤาษี ค าน า ค าชี้แจง ฟ้อนหริภุญไชย ค าอธิบายท่าฟ้อนหริภุญไชย
้
้
ท่าฟอนหริภุญไชย การแต่งกายตัวนางชุดฟอนหริภุญไชย เครื่องแต่งกายตัวนางชุดฟอนหริภุญไชย ดนตรีและ
้
้
เพลงประกอบการฟอนหริภุญไชย เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการฟอนหริภุญไชย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
้
ฟ้อนหริภุญไชย บทส่งท้าย และเอกสารอ้างอิง
๒. พิมพ์ต้นฉบับ ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญอ่าน พร้อมให้ค าแนะน า
๓. ตรวจสอบความสมบูรณ์ โดยให้ผู้มีประสบการณ์ด้านการสอนดนตรี-นาฏศิลป์ และผู้เข้ารับ
การอบรม อ่านให้ค าแนะน าแก้ไขข้อบกพร่องในการสื่อความทางภาษา
๔. ปรับปรุงแก้ไข แก้ไขตามค าแนะน าของผู้ตรวจสอบให้ถูกต้องสมบูรณ์
๕. จัดพิมพ์เผยแพร่ แจกให้ครูผู้สอน โรงเรียนและกลุ่มสนใจ
คุณค่ำ ประโยชน์ และควำมส ำคัญของผลงำน
คุณค่ำของผลงำน เอกสารเสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอน กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง
ฟอนหริภุญไชย สามารถเตือนความทรงจ าท่าฟอนหริภุญไชยให้กับครูผู้สอนที่ผ่านการอบรมแล้ว เมื่อเกิดการลืม
้
้
่
จ าท่าฟอนไม่ได้ ก็เปิดอานทบทวน ครูผู้สอนสามารถเรียนรู้การเชื่อมท่าฟอนแต่ละท่าด้วยตนเองได้ เป็นเอกสาร
้
้
้
ทางวิชาการที่ทุกคนสามารถน าไปสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องฟอนหริภุญไชยได้
ประโยชน์ของผลงำน เอกสารเสริมความรู้ส าหรับครูผู้สอน กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง
้
ฟอนหริภุญไชย ครูผู้สอนได้เพมพนความรู้และน าไปเป็นคู่มือประกอบการสอนฟอนหริภุญไชยให้กับนักเรียน
้
ู
ิ่
้
ชุมชน กลุ่มสนใจในท้องถิ่นตามความต้องได้อย่างมั่นใจ นักเรียนฟอนหริภุญไชยได้สวยงาม น าออกไปแสดง
้
ในงานต่างๆ ได้ตามโอกาสจะเอออานวย และเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายว่า ฟอนหริภุญไชย เป็นเอกลักษณ์ของ
ื้
จังหวัดล าพูน ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมอันสวยงาม
106 | เพชรราชภัฏ - เพชรล้านนา ประจำปีพุทธศักราช 2565